Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชจิราภรณ์ โยธารักษ์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-30T06:18:03Z-
dc.date.available2023-11-30T06:18:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10601-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือครอบครัวสำหรับเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยโดยการพัฒนาต้นแบบชิ้นงาน ผู้ศึกษาได้รวบรวมและประมวลเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยจากเอกสารวิชาการในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พร้อมทั้งทำการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยในด้านต่าง ๆ ของครอบครัวที่มีเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปี อาศัยอยู่ด้วยกันในพื้นที่เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 ครอบครัว โดยใช้การสัมภาษณ์และแบบสอบถาม หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้รับมาประมวลผลความต้องการความรู้หรือทักษะของครอบครัว สำหรับกำหนดเป็นโครงสร้างและขอบเขตเนื้อหาของ (ร่าง) คู่มือครอบครัวเพื่อเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัย เรียบเรียงเนื้อหาตามโครงสร้างนั้นแล้วนำ (ร่าง) คู่มือที่เรียบเรียงเนื้อหาเรียบร้อยแล้วไปให้พ่อแม่ผู้ปกครองกลุ่มเดิมอ่านอีกครั้ง ก่อนนำมาปรับปรุงแก้ไขเป็นคู่มือฉบับสมบูรณ์ ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาคู่มือครอบครัวเพื่อเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยฉบับนี้ มีการนำเสนอเนื้อหาพร้อมภาพประกอบ เน้นวิธีการเตรียมพร้อมสำหรับครอบครัวที่ดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย โดยโครงสร้างเนื้อหาของคู่มือ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน (5 บท) ได้แก่ ส่วนที่ 1 เป็นบทนำ ครอบคลุมรายละเอียดเกี่ยวกับความสำคัญของปัญหาที่ศึกษา วัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษา ส่วนที่ 2 เป็นเนื้อหาสาระของคู่มือครอบครัว แบ่งเป็น 5 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมเด็กในช่วงปฐมวัย บทที่ 2 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพของเด็กปฐมวัย บทที่ 3 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมด้านอารมณ์-จิตใจของเด็กปฐมวัย บทที่ 4 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมด้านสังคมของเด็กปฐมวัย และ บทที่ 5 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมด้านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สำหรับส่วนที่ 3 เป็นบทสรุป ครอบคลุมเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเด็ก--การดูแล--คู่มือth_TH
dc.subjectครอบครัว--คู่มือth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การพัฒนาครอบครัวและสังคมth_TH
dc.titleการพัฒนาคู่มือครอบครัวสำหรับเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of family manual for early childhood readinessen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop a family manual for early childhood readiness. It was done in the form of practical manual. The author reviewed and compiled contented related to early childhood readiness from academic documents in terms of printed and electronic materials. Also, interviews and questionnaire regarding early childhood readiness were conducted with 30 families of early childhood children aged under 6 years who live together in the area of Sai Mai District, Bangkok Metropolitan. Data were analyzed to reflect knowledge or skill needed, then compiled content outline and scope of the manual. The drafted manual were brought to parents of early childhood children for comments and suggestions. After that the drafted manual were modified and corrected to be a complete manual. Results showed that development of family manual for early childhood readiness consisted of knowledge and methods for family to care their early childhood children from birth to 6 years old. The manual contained contents together with pictures and was divided into 3 parts. Part One dealt with importance of the study, objectives and methods of study. Part Two dealt with contents of the family manual and were divided into 5 chapters. Chapter 1 dealt with family roles in early childhood readiness. Chapter 2 dealt with family roles in early childhood health’s readiness. Chapter 3 dealt with family roles in early childhood emotional-psychological readiness. Chapter 4 dealt with family roles in early childhood social readiness. Chapter 5 dealt with family roles in early childhood’s learning readiness. Part Three dealt with conclusion of the study lesson learned from the study and some recommendationsen_US
Appears in Collections:Hum-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons