กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10609
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ พรมสำลี, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-30T07:13:00Z-
dc.date.available2023-11-30T07:13:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10609-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractารวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานกลุ่มทดลองก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม และ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อความปลอดภัยของพนักงานกลุ่มทดลองที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มและพนักงานกลุ่มควบคุมที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงาน จำนวน 10 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงานตั้งแต่เปอร์เซนไทล์ที่ 25 ลงมา แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงานที่มีค่าความเที่ยง .95 (2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงาน และ (3) การให้คำแนะนำตามปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าเบียงเบนควอไทล์ การทดสอบวิสคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังจากการได้รับการปรึกษาแบบกลุ่ม พนักงานกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงานสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) พนักงานกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงาน สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างเจตคติต่อความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeThe effects of group counseling to enhance attitudes toward safety in work performance employees in a companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) compare attitude to safety in work performance of employees in an experimental group before and after receiving group counseling; and (2) compare attitude to safety in work performance of employees in the experimental group after receiving group counseling and a control group after receiving normal guideline. The samples consisted of 20 employees of a company who had score lower than 25th percentile on a test of attitude to employees safety in work performance . They were divided by simple random into the experimental group and the control group, with 10 subjects in each group. The experimental group received 8 sessions of the group counseling, which employed research lasted for 90 minutes while the control group received the safety guideline. The instruments were (1) the test on attitude for safety in work performance with a reliability of .95 coefficient; (2) the group counseling program to enhance the attitude of employee safety in work performance. (3) safety guideline. Statistics for data analysis were median, quartile deviation , Wilcoxon matched pairs signed rank test and Mann-Whitney U test. The findings showed that (1) after receiving group counseling, the experimental group had their attitude to safety in work performance higher than their pre-experiment at .05 level of statistical significance ; and (2) after receiving group counseling, the experimental group had their attitude to safety in work performance higher than of the control group with statistical significance at the .05 levelen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons