Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10622
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำอาง สืบสมาน | th_TH |
dc.contributor.author | รจนา คาวินพฤติ, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-30T08:32:10Z | - |
dc.date.available | 2023-11-30T08:32:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10622 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.บ. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อน-หลังครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียบเทียบความแตกต่างด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (2) เปรียบเทียบความแตกต่างด้านพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (3) เปรียบเทียบความเชื่อมั่นในความสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และ (4) ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมฯ ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการเสริมพลัง อำนาจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำตัวชี้วัดด้านภาวะโภชนาการ ความรู้ และทัศนคติก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ ของผู้สูงอายุ ตำบลบางตะไนย์ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 54 คน โดยความสมัครใจจากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของตำบลบางตะไนย์ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้คือโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังเข้าโปรแกรมฯ เป็นระยะเวลา 1 เดือน ประเมินภาวะโภชนาการด้วยค่าดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมสูงขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างกัน 2) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างกัน 3) ผู้สูงอายุมีการรับรู้ความสามารถของตนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหาร การดูแลสุขภาพสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) ประสิทธิผลของโปรแกรมฯ พบว่าผู้สูงอายุมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริโภคอาหารสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทัศนคติเกี่ยวกับการบริโภคอาหารดีขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างกัน ภาวะโภชนาการมีการพัฒนาที่ดีขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างกัน รวมถึงเส้นรอบเอวผู้สูงอายุเพศหญิงและเพศชายสูงขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โภชนบำบัดสำหรับผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมบำบัดสำหรับผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--โภชนาการ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุไทย กรณีศึกษาตำบลบางตะไนย์ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of empowerment program for modifying risk behavior to improve nutritional status of Thai elderly : a case study in Bangtanai Subdistrict, Pak Kret District, Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This quasi-experimental study aims to ( 1) compare the difference between food consumption behaviors, (2) compare health care behavior, (3) compare self-confidence in the ability to change risk behaviors, (4) study the effectiveness of empowerment program to improve behaviors indicating by nutritional status, knowledge, and attitude among a group of Thai elderly residing in Bang-Tanai Subdistrict, Pak Kret District, Nonthaburi Province. The sample group consisted of 54 elderly people aged 60 years or more, voluntarily sampled from 180 members of the elderly club of Bang-Tanai Subdistrict. The tools used were the one month empowerment program for behavior modification and questionnaires measuring status before and after intervention. Nutritional status was measured by body mass index and waist circumference. Descriptive statistics analyzed frequencies, percentages, means and standard deviation. T-test were uses for statistical inferences on means. Results of the study intervention were as follows (1) the elderly developed a more appropriate dietary behavior but changes were not different; (2) the elderly developed better health care behavior but changes were not different; (3) the elderly perceived an improvement in their ability to change their risk behaviors on food consumption; this finding significant at the level of 0.05; and (4) the effectiveness of the program on elderly knowledge about food consumption improved statistically significant at the level of 0.05; Attitudes better food consumption were not different. Nutrition status (BMI) was better but not significantly different. The waist circumference were also not different | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License