Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10629
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรสวัสดิ์ ศรีสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุพัตรา พิมพา, 2537- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-01T03:30:34Z | - |
dc.date.available | 2023-12-01T03:30:34Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10629 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิภาพของคลอรีนและกรดเปอร์อะซิติกในการฆ่าเชื้อในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล และ (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิภาพของคลอรีนและกรดเปอร์อะซิติกในการฆ่าเชื้อในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล การดำเนินการศึกษาในระบบบำบัดน้ำเสียจริงของโรงพยาบาล ได้แก่ (1) การเก็บตัวอย่าง ตัวอย่างน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วจากบ่อตกตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสีย (2) ดำเนินการศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อในน้ำทิ้งด้วยการเติมสารฆ่าเชื้อในขั้นตอนการฆ่าเชื้อของระบบบำบัดน้ำเสีย สารฆ่าเชื้อที่ใช้ในการศึกษาคือคลอรีนที่ระดับความเข้มข้น 33 มิลลิกรัมต่อลิตร เปรียบเทียบกับกรดเปอร์อะซีติกที่ระดับความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร (3) นำตัวอย่างน้ำเสียก่อนการฆ่าเชื้อและตัวอย่างน้ำทิ้งที่ผ่านระบบการฆ่าเชื้อแล้ว วิเคราะห์หาค่า สารแขวนลอย ความเป็นกรด-ด่าง บีโอดี โคลิฟอร์มแบคทีเรีย และฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรียการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิตินอนพาราเมตริก โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างใช้การทดสอบ แมนน์วิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า (1) การฆ่าเชื้อด้วยคลอรีนมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียและเชื้อฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียได้ร้อยละ 40.63 และ 40.04 ตามลำาดับ การฆ่าเชื้อด้วยกรดเปอร์อะซิติกมีประสิทธิภาพการในการฆ่าเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียและเชื้อฟิคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียได้ร้อยละ 99.61 และ 99.96 ตามลำดับ และ (2) กรดเปอร์อะซีติกที่ระดับความเข้มข้นในน้ำเสียทิ้ง 5 มิลลิกรัมต่อลิตรมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียและเชื้อฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรียมากกว่าคลอรีนที่ระดับความเข้มข้นในน้ำทิ้ง 33 มิลลิกรัมต่อลิตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | น้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดคลอรีน | th_TH |
dc.subject | กรดเปอร์อะซิติก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของคลอรีนและกรดเปอร์อะซิติกในการฆ่าเชื้อในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of Efficacy of chlorine and peracetic acid in disinfection of wastewater treatment system effluent at a community hospital in Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to explore the efficacy of chlorine and peracetic acid in the disinfection of effluent and (2) to compare the efficacy of chlorine and peracetic acid in the disinfection of effluent, from the wastewater treatment system of a community hospital. The study conducted in the hospital wastewater treatment system involved: (1) collection of samples of treated wastewater from a sedimentation pond of the wastewater treatment system; (2) determination of the efficacy of chlorine and peracetic acid in disinfecting the effluent samples, whose disinfectant concentrations in the effluent were 33 mg/L and 5 mg/L, respectively; and (3) determination of solid suspensions, pH, BOD, coliform bacteria and fecal coliform bacteria in the effluent samples (pre-disinfection and post-disinfection). Data analyses with non-parametric statistics and difference comparison using the Mann-Whitney U test were performed. The results showed that: (1) chlorine was effective in killing coliform bacteria and fecal coliform bacteria in the effluent from the wastewater treatment system up to 40.63% and 40.04%, respectively, whereas peracetic acid was effective in killing 99.61% and 99.96% of both kinds of bacteria, respectively, in the effluent; and (2) peracetic acid (5 mg/L in effluent) was more significantly effective in killing coliform and fecal coliform bacteria than chlorine (33 mg/L in effluent) (P < 0.05). Keywords: Disinfection efficacy, Wastewater treatment system, Hospital effluent, Chlorine, Peracetic acid | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168965.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License