Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีสิทธิ์ เจียรบุตรth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ สืบสาย, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T04:10:11Z-
dc.date.available2023-12-04T04:10:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10652en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธในกระบวนการผลิตชิ้นส่วน อะไหล่โดยใช้เครื่องมือคุณภาพมาแก้ปัญหาในงานวิธีรนี้มีการเก็บรวยรวมจัดมูลเพื่อหารากแห่งสายของปัญหาตัวครื่องมือ คุณภาพ รวมทั้งจัดทำแบบสอบถามสำหรับพนักงานปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้ปฏิบัติ และผู้บริหารของ โรงงาน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความสัมพัมพันธ์ระหว่างสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับผลลัพธ์ ของชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธในการผลิต จากการวิเคราะห์พบว่า สาเหตุหลักของปัญหางานที่เกิดขึ้นคือ ปัญหาชิ้นงานไม่ได้ขนาดตามมาตรฐานตามที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งเกิดจากผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กำหนด ขาดทักษะ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือมือวัดแต่ละชนิดทำให้ผลิตขึ้นงาน ที่ไม่ได้ขนาดตามมาตรฐาน จากการค้นพบนี้จึงควรให้ส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการปฏิบัติงานและใช้เครื่องมือให้มากยิ่งขึ้น โดยอบรมพนักงานให้ทราบถึง จุดสำคัญที่ใช้ในการตรวจรับงานและการใช้เครื่องมือวัดชนิดต่างๆ ผลจากการดำเนินการทำให้ สามารถลดปริมาณขึ้นงานที่ถูกปฏิเสธได้โดยคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละจาก 10.29 เป็นร้อยละ 2.46 ซึ่ง ลดลงจากเดิมร้อยละ 76.09th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการผลิต--การจัดการth_TH
dc.subjectการควบคุมการผลิตth_TH
dc.subjectอะไหล่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรม.th_TH
dc.titleการลดปริมาณชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธด้วยเครื่องมือคุณภาพ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่th_TH
dc.title.alternativeMinimization of rejected parts by using QC Tools : the case study of a spare part factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the causes of rejected parts that occurred in a spare part factory. This project was conducted by using QC Tools to collect data and analyzing the root causes of the problem. Additionally, the collecting data was gathered via questionnaires from operators, supervisors and directors of the factory. Then, the data was analyzed to determine the relationship between the causes and effects of the rejected parts in the process. The results shown that main problem is the product was not standardize as customer requested, which is from operators whom did not follow the working procedures, were lacked of working skill and had less experiences in using measuring instrument. Based on the results, it should be promote those operators were recommended to improve their working skill and gain the knowledge in dimensional metrology by training. After the corrective action, the rejected parts were decreased from 10.29% to be 2.46% which was reduced from the past 76.09%.en_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161020.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons