กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10652
ชื่อเรื่อง: | การลดปริมาณชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธด้วยเครื่องมือคุณภาพ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Minimization of rejected parts by using QC Tools : the case study of a spare part factory |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร กนกวรรณ สืบสาย, 2533- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี การผลิต--การจัดการ การควบคุมการผลิต อะไหล่ การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรม. |
วันที่เผยแพร่: | 2561 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธในกระบวนการผลิตชิ้นส่วน อะไหล่โดยใช้เครื่องมือคุณภาพมาแก้ปัญหาในงานวิธีรนี้มีการเก็บรวยรวมจัดมูลเพื่อหารากแห่งสายของปัญหาตัวครื่องมือ คุณภาพ รวมทั้งจัดทำแบบสอบถามสำหรับพนักงานปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้ปฏิบัติ และผู้บริหารของ โรงงาน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความสัมพัมพันธ์ระหว่างสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับผลลัพธ์ ของชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธในการผลิต จากการวิเคราะห์พบว่า สาเหตุหลักของปัญหางานที่เกิดขึ้นคือ ปัญหาชิ้นงานไม่ได้ขนาดตามมาตรฐานตามที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งเกิดจากผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กำหนด ขาดทักษะ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือมือวัดแต่ละชนิดทำให้ผลิตขึ้นงาน ที่ไม่ได้ขนาดตามมาตรฐาน จากการค้นพบนี้จึงควรให้ส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการปฏิบัติงานและใช้เครื่องมือให้มากยิ่งขึ้น โดยอบรมพนักงานให้ทราบถึง จุดสำคัญที่ใช้ในการตรวจรับงานและการใช้เครื่องมือวัดชนิดต่างๆ ผลจากการดำเนินการทำให้ สามารถลดปริมาณขึ้นงานที่ถูกปฏิเสธได้โดยคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละจาก 10.29 เป็นร้อยละ 2.46 ซึ่ง ลดลงจากเดิมร้อยละ 76.09 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10652 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Science Tech - Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
161020.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.67 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License