Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระชัย วงศ์เอกอักษร, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T06:58:39Z-
dc.date.available2023-12-04T06:58:39Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10662-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การคงอยู่ในงานของบุคลากร (2) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากร และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงาน กับการคงอยู่ในงานของบุคลากรในโรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ประชากรคือบุคลากรทุกระดับที่สังกัดโรงพยาบาลบ้านโป่ง โดยมีระยะเวลาทำงานในโรงพยาบาลบ้านโป่งอย่างน้อย 1 ปี จำนวนทั้งสิ้น 741 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 349 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนของประเภทบุคลากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามในส่วนของแรงจูงใจในการทำงานและการคงอยู่ในงานเท่ากับ 0.827 และ 0.945 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) การคงอยู่ในงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าบุคลากรกลุ่มที่มีสัดส่วนมากที่สุดได้แก่กลุ่มอายุ 41-50 ปี ระยะเวลาอยู่ในองค์กร 1-10 ปี ระดับรายได้ 10,001-20,000 บาทต่อเดือน มีภูมิลำเนาอยู่ในอำเภอบ้านโป่ง และเป็นบุคลากรประเภทกลุ่มวิชาชีพ ปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง และ (3) ระยะเวลาอยู่ในองค์กรเป็นปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยเดียวที่มีความสัมพันธ์กับระดับการคงอยู่ในงาน ส่วนแรงจูงใจในการทำงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (r=0.708) กับการคงอยู่ในงานของบุคลากรในโรงพยาบาลบ้านโป่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากรโรงพยาบาล--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.subjectการทำงาน--แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในงานของบุคลากรโรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to retention of personnel at Ban Pong Hospital in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the survey research were to study: (1) the level of retention of personnel, or staff retention; (2) personal factors and work motivation factors of personnel; and (3) the relationship between personal factors, work motivation factors, and retention of personnel at Ban Pong Hospital. The study was conducted on a sample of 349 personnel, selected from all 741 personnel in the hospital who had been working for at least 1 year, using the stratified sampling method classified by type of personnel. Data were collected using a questionnaire with the reliability values of 0.827 and 0.945 for work motivation and staff retention, respectively. Statistics used in data analyses were frequencies, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and Pearson’s product-moment correlation. The results showed that: (1) among all participants at Ban Pong Hospital, the overall staff retention was at a high level; (2) their highest proportion was in the age group 41–50 years; they had worked for 1–10 years, had a monthly salary of 10,001–20,000 baht, lived in Ban Pong district, worked in the medical profession, and had a high level of work motivation; and (3) their working duration was the only personal factor that was associated with staff retention, while their overall work motivation was significantly related to staff retention at a high level (r = 0.708; p = 0.05)en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161872.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons