Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorภัทร จันทาพูน, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T07:13:30Z-
dc.date.available2023-12-04T07:13:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10665en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการรายงานค่าวิกฤตของกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลแพร่ในด้านความครบถ้วน ถูกต้องและความรวดเร็ว (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาของการส่งตรวจ (เวรเช้า/เวรบ่าย/เวรดึก) กับความรวดเร็วในการรายงานค่าวิกฤต (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการทดสอบต่อรายกับความรวดเร็วในการรายงานค่าวิกฤต และ (4) ตรวจสอบความสัมพันธ์ของการรายงานค่าวิกฤตกับอาการวิกฤตของผู้ป่วยโดยผู้เชี่ยวชาญ ประชากรที่ศึกษาคือ บันทึกการรายงานค่าวิกฤต 810 ใบรายงาน ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562 และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการรายงานและรับรายงานค่าวิกฤต โรงพยาบาลแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นบันทึกการรายงานค่าวิกฤต จำนวน 270 ใบรายงาน ได้จากการสุ่มอย่างมีระบบและกลุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบความสัมพันธ์ของการรายงานค่าวิกฤตกับอาการวิกฤตของผู้ป่วยเลือกแบบเจาะจงประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้รับรายงานค่าวิกฤต ได้แก่ แพทย์และพยาบาล และกลุ่มผู้รายงานค่าวิกฤต ได้แก่ นักเทคนิคการแพทย์ จำนวน 10 คน โดยมีการสนทนากลุ่มในประเด็นใบรายงานที่ได้จากการสุ่มอย่างมีระบบ 27 ใบรายงาน คิดเป็นร้อยละ 10 ของใบรายงานที่ศึกษา เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกรายการและประเด็นสนทนากลุ่ม มีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.85 และ 0.91 ตามลำดับ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ การทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) การรายงานค่าวิกฤตมีความครบถ้วน และความถูกต้องทั้งหมด ส่วนความรวดเร็วในการรายงานค่าวิกฤต พบว่า ไม่เกินเวลา ร้อยละ 72.2 (2) ช่วงเวลาของการส่งตรวจกับความรวดเร็วในการรายงานค่าวิกฤตมีความสัมพันธ์กัน โดยพบว่าสัดส่วนของการรายงานค่าวิกฤตที่เกินเวลามากที่สุดคือ เวรดึก ร้อยละ 46.2 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (3) จำนวนการทดสอบต่อรายกับความรวดเร็วในการรายงานค่าวิกฤตมีความสัมพันธ์กัน โดยพบว่า สัดส่วนของการรายงานค่าวิกฤตที่เกินเวลาเมื่อมีมากกว่า 1 การทดสอบต่อรายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (4) การรายงานค่าวิกฤตมีความสัมพันธ์กับอาการวิกฤตของผู้ป่วยจากการสนทนากลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคนิคการแพทย์--การรายงาน--การประเมินth_TH
dc.subjectพยาธิวิทยา--การรายงาน--การประเมินth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ไทย--แพร่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleการประเมินผลการรายงานค่าวิกฤตของกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลแพร่th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of critical value reports of the Medical Technology and Clinical Pathology Department in Phrae Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to evaluate the critical value reports of the Medical Technology and Clinical Pathology Group in terms of completeness, accuracy, and speed; (2) to study the relationship between the time period of examination (day shift, evening shift, night shift) and the speed of critical value reports; (3) to study the relationship between the number of tests per specimen and the speed of critical value reports; and (4) to examine the relationship between critical value reports and critical symptoms of patients by experts, all in Phrae Hospital. The study was conducted in a sample of 270 critical value reports, systematically selected from all 810 such reports, from 15 March to 30 April 2019, and a sample of 10 experts who were report recipients (doctors/nurses) and report senders (medical technologists) purposively selected from all such personnel at the hospital. Data were collected from the 270 selected critical value reports using a data-recording form and a focus group discussion form with the item-objective congruence indexes of 0.85 and 0.91, respectively. A focus group discussion was held with the experts on the relationship between critical value reports and critical symptoms of patients, based on 27 critical value reports randomly selected from the sample reports (10% of the sample). Collected data were then analyzed to determine/perform means, standard deviations, percentages, and chi-square test. The results revealed that: (1) of all the sample critical value reports, all of them were complete and accurate; and in terms of reporting speed, 72.2% were received with in the specified time frame; (2) the time periods of specimen examination were significantly associated with the speeds of critical value reporting – the night shift saw the highest proportion (46.2%) of overdue reports (p = 0.001); (3) the numbers of tests per specimen were significantly associated with the speeds of critical value reporting – a higher proportion of overdue reports was seen in specimens with more than one test (p = 0.001); and (4) critical value reporting was associated with critical symptoms of patients according to the experts’ focus group discussionsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161871.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons