Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัญญา ปุณณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิติเศรษฐ์ หมวดทองอ่อน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorหยาดนภา จิรวัฒนกุล, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T07:31:43Z-
dc.date.available2023-12-04T07:31:43Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้คิวอาร์โค้ด และ (2) ประเมินประสิทธิภาพการทํางานของระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้คิวอาร์โค้ด การพัฒนาระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้คิวอาร์โค้ด มีขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย 5 ขั้นตอนตามหลักการของวัฏจักรการพัฒนาระบบงาน ดังนี้ (1) วิเคราะห์ปัญหาและเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการของระบบ (2) ออกแบบระบบต้นแบบ (3) พัฒนาและทดสอบระบบต้นแบบ (4) นำขึ้นใช้งานและประเมินประสิทธิภาพระบบต้นแบบ และ (5) สรุปผลงานวิจัย ข้อมูล ตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ ข้อมูลบุคคลจากระบบงานหลัก ข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และข้อมูลดัชนี เครื่องมือที่ใช้ มีดังนี้ ภาษาโปรแกรมซีชาร์ป ชุดคำสั่ง Spire Barcode for Net ชุดคำสั่ง Spirc.PDF for Net โปรแกรม Visual Studio Community 2017 และ โปรแกรม Microsoft SQL Server 2014 Developer Edition ส่วนประกอบของระบบ มีดังนี้ (1) การสร้างคิวอาร์โค้ด สําหรับติดเอกสารต้นฉบับ (2) การตรวจจับคิวอาร์โค้ด เพื่อหาตำแหน่งคิวอาร์โค้ดและอ่านข้อมูลดัชนีจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) การทําดัชนีโดยการบันทึกข้อมูลดัชนีและไฟล์พีดีเอฟโดยอัตโนมัติเข้าระบบ ซึ่งพบว่า สามารถช่วยแก้ปัญหาการจัดทำดัชนีและข้อผิดพลาดต่าง ๆ จากการจัดการเอกสารกระดาษด้วยมนุษย์ การประเมินประสิทธิภาพการทํางานของระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้คิวอาร์โค้ด พบว่า กระบวนการจัดการเอกสาร รวดเร็วขึ้นและขั้นตอนลดลง นอกจากนั้น การสร้างและการตรวจจับคิวอาร์โค้ดดำเนินการได้ถูกต้องร้อยละ 100 การวัดประสิทธิภาพโดยรวมในการสืบค้นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ด้วยดัชนี มีค่าร้อยละ 100 แสดงว่าไม่มีความผิดพลาดในการทําดัชนี และระบบเหมาะสมที่จะนําไปใช้งานต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศth_TH
dc.subjectคิวอาร์โคดth_TH
dc.titleระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้คิวอาร์โค้ดth_TH
dc.title.alternativeElectronic document management using QR Codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) develop an electronic document management system using QR code and (2) evaluate the efficiency of an electronic document management system using QR code. The development of an electronic document management system using QR code. There were five steps, as followed by the system development life cycle (SDLC): (1) problem analysis and system requirements data, (2) prototype system design, (3) prototype system development and testing, and (4) prototype system evaluation, and (5) providing a summary of the research findings. The sample data were the personal data from the main system, the electronic documents, and the keyword for indexes. The research tools were the C# programming language, Spire. Barcode for .Net, Spire. PDF for .Net, Visual Studio Community 2017, and Microsoft SQL Server 2014 Developer Edition. The system components consisted of (1) the QR code generation for labeling the original documents; (2) the QR code detection to find the QR code position and read the indexes from the electronic documents, and (3) the indexing which was performed automatically by recording the index and pdf file to the system, which found that the system was able to solve manual indexing and the mistakes of manual document management. The performance evaluation of the electronic document management system using QR code founded that the document management process being faster and the steps being reduced. Moreover, QR code generation and detection performed 100% accurately. The overall efficiency (F-measure) for searching the electronic documents by indexes was 100%. This results showed that there was no mistake for indexing and the system was suitable for implementationen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons