Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรรณุมา วรคุปต์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T07:46:21Z-
dc.date.available2023-12-04T07:46:21Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10673-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี่กรุงเทพมหานคร 2) การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร และ 3) ผลกระทบจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี กรุงเทพมหานครการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีอายุ ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในเขตหลักสี่ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่ากรุงเทพมหานคร จำนวน 393 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี่กรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่นิยมใช้สื่อสังคมประเภทไลน์ (Line) มากที่สุด นิยมใช้บริการสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart Phone) ส่วนใหญ่ใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์ที่ที่พักอาศัย มีความถี่ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ทุกวัน ใช้สื่อสังคมออนไลน์ครั้งละ 30 - 60 นาที ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อ คุยกับเพื่อนปัจจุบันเและเพื่อนเก่ามากที่สุด และมีค่าใช้จ่ายในการใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์เดือนละ 100 - 399 บาท 2) การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานครในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างมีทักษะการเข้าถึงโดยการแสวงหาข้อมูลข่าวสารที่ต้องการจากหลายแหล่ง เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ได้มากที่สุด และ 3) ผลกระทบจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์มากที่สุดในแต่ละด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การใช้เงินเป็นค่าบริการโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ตจำนวนมาก ด้านสังคม ได้แก่ มีการสื่อสารกับคนในครอบครัวและคนรู้จักเพิ่มขึ้น ด้านอารมณ์และจิตใจ ได้แก่ ได้รับความบันเทิงและคลายความเครียดจากการดูหนัง ฟังเพลง คูกีฬา เล่นเกม และติดตามข้อมูลดาราหรือศิลปินที่ชื่นซอบ และ ด้านสุขภาพ ได้แก่ ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้านการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การป้องกันและรักษาโรคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--ไทย--การศึกษาการใช้.th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการเปิดรับ การรู้เท่าทันสื่อและผลกระทบจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeExposure, media literacy and the effect of social media among senior citizen in Lak si, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study 1) exposure to online social media of elderly people in Laksi District of Bangkok; 2) media literacy of elderly people in Laksi District of Bangkok; and 3) the impact of social media on elderly people in Laksi District of Bangkok. This was a quantitative research. The sample population was 393 people aged 60 and over living in Laksi District of Bangkok, chosen through accidental sampling. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) The type of social media used the most by the samples surveyed was Line application, accessed via smart phone. Most of them were exposed to social media most often at their homes and most of them reported using it every day for 30 – 60 minutes at a time. Their main reason for using social media was to chat with friends, both new friends and old friends. 2) The level of media literacy of most elderly people in Laksi District of Bangkok was rated as medium. The samples surveyed had the greatest level of skill in searching for information from several sources such as Facebook and Line. 3) The impact of social media that was perceived as the most impactful was economic impact, because the samples had to use more money to pay for telephone and Internet service. The social impact was perceived as positive because social media helped them communicate with friends and family more. For emotional impact they reported that social media entertained and relaxed them because it provided a way to watch videos, listen to music, watch sports, play games and follow news about celebrities. The health impact was also seen as positive because they learned useful information about nutrition and disease prevention.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161015.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons