Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorศิระวิชญ์ ทวีสุวรรณวงศ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-06T08:06:11Z-
dc.date.available2023-12-06T08:06:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10703en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 (2) ศึกษาสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 และ (3) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 217 คน ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างครูผู้สอนโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพปัจจุบันของการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 อยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวมและขั้นตอนการดำเนินงาน (2) สภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยขั้นตอนการดำเนินงานมีสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนขั้นตอนอื่น ๆ มีสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก และ (3) ความต้องการจำเป็นของการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยา เขตชุมพร 2 เรียงตามลำดับความต้องการจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การดำเนินงานขั้นวางแผน การดำเนินงานขั้นสังเกตผลการปฏิบัติงาน การดำเนินงานขั้นลงมือปฏิบัติ และการดำเนินงานขั้นสะท้อนผล ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา.th_TH
dc.titleการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตชุมพร 2th_TH
dc.title.alternativeOperation of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schoolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the actual operational condition of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools; (2) to study the expected operational condition of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools; and (3) to study the needs for the operation of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools. The research sample consisted of 217 school administrators and teachers in Chumphon School Consortium 2 secondary schools. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The teachers were obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire dealing with the actual and expected operational conditions of professional learning community in schools. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and PNImodified. Research findings showed that (1) both the overall and specific steps of the current operational condition of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools were rated at the high level; (2) the whole of expected operational condition of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools was rated at the high level, while the expected operational step was rated at the highest level, and the other steps were rated at the high level; and (3) the needs for the operation of professional learning community in Chumphon School Consortium 2 secondary schools could be ranked from top to bottom were the planning step of operation, the performance result observation step of operation, the practice step of operation, and the result reflection step of operation, respectively.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166596.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons