Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10704
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โสภนา สุดสมบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วัชระ ขาวนุ้ย, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-06T08:11:44Z | - |
dc.date.available | 2023-12-06T08:11:44Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10704 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษากลุ่มวิทยาเขตชุมพร 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 2) ศึกษาสภาพที่พึงประสงค์ของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา 3) ศึกษาความต้องการจำเป็นของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา และ 4) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มวิทยาเขตชุมพร 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จำนวน 226 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่าง อย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพ ที่พึงประสงค์ของบรรยากาศองค์การ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น และระยะที่ 2 ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารในสถานศึกษากลุ่มวิทยาเขตชุมพร 2 จำนวน 5 คน ได้มาด้วยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) สภาพปัจจุบันของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) สภาพที่พึงประสงค์ของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3) ความต้องการจำเป็นของบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา พบว่า ความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ ควรลดบรรยากาศแบบซึมเซา และเพิ่มบรรยากาศแบบเปิด และ 4) แนวทางการ ส่งเสริมบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาพิจารณาจากความคิดเห็นของครู ผู้บริหารควรปฏิบัติดังนี้ (1) สร้างขวัญกำลังใจเพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้ครู (2) เป็นแบบอย่างที่ดีในการครองตน ครองคน และครองงาน และไม่ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ (3) อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานให้ครูอย่างเหมาะสม (4) มีความยืดหยุ่นในการสั่งงาน โดยคำนึงถึงความสามารถของครูพร้อมการนิเทศติดตามอย่างสม่ำเสมอ (5) ใช้หลักการบริหารแบบธรรมาภิบาลและการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม (6) สนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเองเพื่อความเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ (7) วางแผนปฏิบัติการและมอบหมายงานตามโครงสร้างบริหารอย่างเหมาะสม (8) ปฏิบัติต่อครูด้วยความเมตตาและเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ และ (9) มีทักษะการสื่อสารและการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมบรรยากาศองค์การที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มวิทยาเขตชุมพร 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for promoting of organizational climate facilitating work performance of teacher in Chumphon Consortium 2 Schools under the Secondary Education Service Area Office 11 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to study (1) the current condition of organizational climate facilitating work performance of teachers in Chumphon Consortium 2 Schools under the Secondary Education Service Area Office 11; (2) the expected condition of organizational climate facilitating work performance of teachers of secondary schools; (3) the needs for organizational climate facilitating work performance of teachers of secondary schools; and (4) guidelines for promotion of organizational climate facilitating work performance of teachers in Chumphon Consortium 2 The research process was divided into 2 phases: In Phase 1, the samples were 226 teachers and educational personnel in Chumphon Consortium 2 Schools under the Secondary Education Service Area Office 11, obtained by simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research instrument was a questionnaire on the current and expected conditions of organizational climate. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and PNImodified. In Phase 2, the key research informants were purposively selected five school administrators in Chumphon Consortium 2 Schools. The employed research instrument was a semi-structured interview form. Data were analyzed with content analysis. The research results showed that 1) the current condition of overall organizational climate facilitating work performance of teachers was rated at the moderate level; 2) the expected condition of overall organizational climate facilitating work performance of teachers was rated at the moderate level; 3) regarding the needs for organizational climate facilitating work performance of teachers, it was found that the highest need was for reduction of the inactive climate and increase of the open climate; and 4) the guidelines for promotion of organizational climate facilitating work performance of teachers in Chumphon Consortium 2 Schools as perceived by teachers were that school administrators should do the following: (1) creating morale and will power in order to increase motivation for work performance of teachers; (2) conducting themselves to be a good role model in self-control, control of others, and control of duty, while refraining from violating the professional code of ethics; (3) appropriately facilitating the work performance of teachers; (4) being flexible in issuing orders with consideration of the ability of each teacher and provision of regular supervision; (5) applying the administration based on the good governance principle and the participatory administration principle; (6) providing supports for self-development of teachers to achieve progress in their profession; (7) planning for operation appropriately and assigning work appropriately for teachers based on the administrative structure; (8) treating teachers with compassion and generosity; and (9) having efficient communication and decision-making skills. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166597.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License