Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10712
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิกรณ์ รักษ์ปวงชน | th_TH |
dc.contributor.author | พันธุ์พงศ์ ปานพูล, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-07T02:29:11Z | - |
dc.date.available | 2023-12-07T02:29:11Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10712 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะทั่วไป ความหมาย โครงสร้าง แนวคิดในการจัดเก็บ รูปแบบของการจัดเก็บรวมถึงมาตรการการจัดเก็บภาษีมรดกและ ภาษีการให้ของประเทศไทยและต่างประเทศ และ (2) นําความรู้ที่ได้ศึกษามาวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกบการจัดเก็บภาษีของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีการรับมรดกและภาษีการ ให้ของประเทศไทยที่ใช้อยูในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้มากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารจากเอกสาร ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผู้ศึกษาได้ทําการรวบรวมข้อมูล ค้นคว้า และวิจัย จากหนังสือ ตํารา กฎหมาย บทความ วิทยานิพนธ์ รวมถึงการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต ด้วยวิธีการเขียนอธิบายและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายภาษีมรดกและภาษีการให้ของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดในการจัดเก็บภาษีมรดกของประเทศไทยและต่างประเทศ โดยหลักมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้ให้แก่รัฐและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม สําหรับรูปแบบการ จัดเก็บภาษีก็จะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ โดยประเทศไทยและอังกฤษจัดเก็บภาษีจากการรับมรดก ส่วนสหรัฐอเมริกาจัดเก็บภาษีจากกองมรดกและ (2) ควรปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในเรื่องฐานภาษีที่ปัจจุบันจัดเก็บจากทรัพย์สินที่มีทะเบียน เป็นให้จัดเก็บจากทรัพย์สินทุกประเภท เพื่อป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษี ควรจัดเก็บภาษีจากกองมรดก เพื่อความสะดวกและลดรายจ่ายในการบริหาร จัดเก็บ มูลค่าขั้นตํ่าของทรัพย์มรดกที่ได้รับยกเว้น ควรปรับลดลงเพื่อขยายฐานการจัดเก็บและอัตราภาษีที่ใช้อัตราคงที่ ควรจัดเก็บโดยใช้อัตราก้าวหน้า เพื่อให้เป็นไปตามหลักความสามารถในการเสียภาษี นอกจากนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมและลดผลกระทบการดําเนินธุรกิจ ควรกำหนดให้มีการยกเว้นการจัดเก็บภาษีสําหรับธุรกิจของครอบครัวหรือธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาษีมรดก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การบังคับใช้กฎหมายภาษีมรดกและภาษีการให้ | th_TH |
dc.title.alternative | Inheritance and gift taxation enforcement | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study was (1)to study about general characteristic, meaning, structure, taxation concept and taxation format, including tax measures of inheritance and gift tax in Thailand and foreign countries and (2) to apply knowledge for analyze a problem about tax measures of Thailand to compared with the United of Kingdom and the United State of America in order to recommend the guideline for regulative amendment regarding tax measures of inheritance and gift tax of Thailand to more efficiency of enforcement. This independent study is qualitative research by documentary research both of Thai and foreign documents. The researcher had collected data, documentary researched and studied on books, law, article, thesis including an internet researching by explanation writing method and problem analyzing about Thailand’s inheritance and gift taxation enforcement. The findings were as follows (1) the concept of tax measures concept of inheritance in Thailand and foreign by general are have propose for to earn money for the government and to decrease difference of the people, for taxation format will difference on each country which Thailand and the United of Kingdom have taxation on inheritance tax as United State of America has taxation on estate tax and (2) should be regulative amendment on tax base from only registered propriety to all propriety for protect avoided taxes, should be tariff from estate for convenience and expenses reduce on administrative taxation. Taxes exemption for minimum value of estate should be reduce the value for expand taxable base and tax rate should be change from flat rate to progressive rate for to be in line with the principle of capacity. In addition, to business supporting and deduct to economic impact, it should be exempt taxation for family business or small and medium sized enterprise. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License