Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิศ ภู่ศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดาวประกาย นันทพรหม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-07T08:19:59Z-
dc.date.available2023-12-07T08:19:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10739-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการ สอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาคอมพิวเตอร์เรื่อง การสร้างข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเรียนด้วยชุดการแบบอิงประสบการณ์วิชาคอมพิวเตอร์เรื่อง การสร้าง ข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรมเคสก์ทอปออเธอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน พรหมพิกุลทอง ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1/2550 จำนวน 39 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างข้อความและ รูปภาพด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 3 การใช้งานโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ หน่วยประสบการณ์ที่ 8 การฝึกสร้างข้อความและรูปภาพเรื่องคำศัพท์ ภาษาอังกฤษด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ และหน่วยประสบการณ์ที่ 9 การใช้งานแผ่นแบบ การใช้งานปุ่ม การบันทึกไฟล์และการจัดทำแพ็คเกจด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญ ประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ(3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับชุดการสอนแบบ อิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E, / E การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างข้อความ และรูปภาพด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 82.50/77.60, 80.95 / 79.66 และ 81.50 / 80.33 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80 / 80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุด การสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรี่ยนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความคิดเห็นต่อคุณภาพของชุดการสอน แบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับ "เห็นด้วยมากที่สุด"th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.72-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องการสร้างข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรมเดสก์ทอปออเธอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packages in the computer subject on creating text and images using Desktop Author Program for Prathom Suksa VI students in Samut Prakan Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.72-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) develop a set of Experience-Based Instructional Packages in the Computer Subject on Creating Text and Image Using Desktop Author Program for Prthom Suksa VI Students based on 80/80 efficiency criterion; (2) to study the progress on the students learning from the develop a set of experience-based instructional packages; and (3) to study the opinion of the students on the quality of experience-based instructional packages. The research sample for efficiency testing consisted of 39 Prathom Suksa VI students studying in the first semester of the 2007 academic year at Prom Pikun Thong School in Samut Prakarn province, obtained by purposive sampling Research tools comprised (1) three units of experience-based instructional packages, namely, Unit 3: Using Desktop Author Program; Unit 8: Practicing Creating Texts and Images on English Vocabularies Using Desktop Author Program; and Unit 9: Using Templates, Buttons Saving Files and Creating Package with Desktop Author Program; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire asking the students' opinion on the quality of the experience- based instructional packages. Statistics used were the E1/E2 index, t-test, mean, and Standard deviation. Research finding showed that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 82.50/77.60, 80.95/79.66 and 81.50/80.33 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the experience-based instructional packages was at the "Mostly Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons