Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลดาวัลย์ รุจเศรณี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T07:53:57Z-
dc.date.available2022-08-26T07:53:57Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1073-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความพึงพอใจในงาน ระดับความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในศูนย์สุขภาพชุมชน (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความพึงพอใจในงานกับความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดหนองคาย ประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดหนองคาย 122 คน โดยศึกษาทุกหน่วยประชากร เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงของความพึงพอใจในงานเท่ากับ 0.84 และความสามารถในการปฏิบัติงาน เท่ากับ 0.97 ได้แบบสอบถามคืน 113 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 92.63 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และไค-สแคว์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ร้อยละ 43.4 ของ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน มีอายุน้อยกว่า 25 ปี ร้อยละ 58.4 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 73.5 ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชนในช่วง 2-3 ปี ร้อยละ 69.0 ได้รับการอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับศูนย์สุขภาพชุมชน พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจในงานโดยรวมและประเมินตนเองว่ามีความสามารถในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาการปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน และการได้รับการอบรมเพิ่มเติม ไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในศูนย์สุขภาพชุมชน ส่วนปัจจัยค้ำจุนด้านนโยบายและการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และวิธีการปกครองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.412, 0.336, 0.219 ค่า p-value <0.001, <0.001 และ 0.01 ตามลำดับ) ปัจจัยจูงใจแต่ละด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยบังคับบัญชาและโดยรวมสําคัญทางสถิติ (r = 0.420, p-value <0.001)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.270-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ--ไทย--หนองคายth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และความพึงพอใจในงานกับความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between personal factors and job satisfaction and job performance of professional nurses in primary care unit of Nongkhai provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.270-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the survey research were to (1) determine personal factors, level of job satisfaction and level of job performance of professional nurses in Primary Care Unit and; (2) examine relationships between personal factors, job satisfaction and job performance of professional nurses in Primary Care Unit, Nongkhai Province. The study population were all 122 professional nurses working in Primary Care Unit in Nongkhai Province. Data were collected by using questionnaires which reliability 0.84 for job satisfaction and 0.97 for job performance. There were 113 returned questionnaires or 92.63%. Mean, percentage, standard deviation, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Chi-square test were used for data analysis. The findings were (1) 43.4% of professional nurses in Primary Care Unit were less than 25 years old and 58.4% were married, 73.5% of them have worked in Primary Care Unit for 2-3 years, 69.0% of them had obtained additional training on Primary Care Unit; they had job satisfaction and had assessed their whole job performance at moderate level; (2) personal factors as age, marrital status, working experiences and additional training had no significant correlation to job performance of professional nurses in Primary Care Unit; hygiene factors in aspect of policy and administration, personal relationship and supervision-technical had significantly positive correlation to job performance (r = 0.412, 0.336, 0.219 at p-value < 0.001, <0.001 and 0.01, respectively); each item and the whole of motivation factors had significantly positive correlation to the job performance of professional nurses (r = 0.420, p-value < 0.001)en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82152.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons