Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำรวย กมลายุตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัศนีย์วรรณ์ ศรีประดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมะลิวรรณ ระหูภา, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T07:55:53Z-
dc.date.available2022-08-26T07:55:53Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาเว็บไซต์และระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุ ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง เว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นมาใช้เป็นแหล่งสารสนเทศในการ เผยแพร่ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง ส่วนฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้น เป็นระบบที่ผู้ใช้สามารถบันทึก ค้นหาและออกรายงานข้อมูลเกี่ยวกับโบราณวัตถุบ้านเชียง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา การพัฒนาเว็บไซต์ใช้หลักการและวิธีการ ออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ ส่วนของระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุนั้น ผู้วิจัยใช้วัฏจักรการพัฒนา ระบบงาน (System Development Life Cycle) โดยเริ่มจากการศึกษาปัญหาและวิเคราะห์ความ ต้องการของผู้ใช้ ปัญหาสําคัญที่พบ คือ เว็บไซต์ที่มีอยู่เดิมยังขาดรายละเอียดที่มีประโยชน์หลาย อย่างและไม่มีการปรับปรุงให้ทันสมัย ส่วนระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุที่ใช้เดิมเป็นระบบมือ ทํา ให้ผู้ใช้ไม่ได้รับความสะดวกในการจัดเก็บ ค้นหาและจัดทํารายงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมจูมลา โปรแกรมภาษาพีเอชพี โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล ผลการวิจัยนี้ ทําให้ได้เว็บไซต์ใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติบ้านเชียงให้แก่ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยเว็บไซต์ได้จด ทะเบียนโดเมนเนม ชื่อ banchiangmuseum สําหรับระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติบ้านเชียงประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นข้อความและภาพโบราณวัตถุที่ผู้ใช้สามารถปรับปรุง เพิ่ม ลบ และค้นหาข้อมูลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อ เว็บไซต์และระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุพบว่า ในภาพรวมผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการทํางานของ ระบบที่พัฒนาขึ้นในระดับดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเว็บไซต์--การออกแบบth_TH
dc.subjectการออกแบบฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectการพัฒนาเว็บไซต์th_TH
dc.titleการพัฒนาเว็บไซต์และฐานข้อมูลโบราณวัตถุ : กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติบ้างเชียงth_TH
dc.title.alternativeThe development of website and database on antique a case of Ban Chiang National Museumth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research and development was to develop a website and database on the antique of Ban Chiang National Museum. The website developed was used as a source of information in the dissemination of information about Ban Chiang National Museum. The database system that was developed allowed users to input searches, and issue reports on the Ban Chiang antique data. The website development used the principle of webpage design and development. For the database system development, the system development life cycle methodology was used. Initially, the major problems of the existing website were the lack of useful details, and being out-of-date. Also the existing antiques database system was a manual system, which made it inconvenient to collect, search, and print out data on antique. The research tools used in this research were the Joomla Program, the PHP program and the MySQL database management program. The results of the study showed that the developed website was used as a source of information about the Ban Chiang National Museum, which was accessible to the general public via the Internet. The website domain name was registered as banchiangmuseum. The database system on the antiques of Ban Chiang National Museum consisted of text data and images. Furthermore, users input, add, delete and update the data correctly and quickly. The evaluation of user satisfaction with the website and database system on antiques revealed that most users were satisfied with the overall system at a good levelen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (25).pdfเอกสารฉบับเต็ม27.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons