Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรมth_TH
dc.contributor.authorสุภาพ วงศ์พัฒนวุฒิ, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T08:02:04Z-
dc.date.available2022-08-26T08:02:04Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1077-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) จําแนกระดับความเข้าใจตัวชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค (2) เพื่อ จำแนก ระดับการใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค (3) เพื่อจำแนกระดับทัศนคติต่อตัวชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจและทัศนคติกับการใช้ตัวชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค (5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการใช้ตัวชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สามารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคในปีงบประมาณ 2547 ในจังหวัดมุกดาหาร จํานวน 195 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัยครั้งนี้คือแบบสอบถาม เกี่ยวกับความเข้าใจ การใช้ ทัศนคติ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค แบบสอบถามมีค่าความเทียงเท่ากับ 0.71, 0.70, 0.91,0.78 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบสมมติฐานและการทดสอบความสัมพันธ์โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแล้วส่งกลับมายังผู้วิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความเข้าใจตัวชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ในระดับสูง (2) ระดับการใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ในระดับสูง (3) ระดับทัศนคติของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคที่มีต่อด้วชี้วัดผลการทํางานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ในระดับสูง (4) ความเข้าใจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในระดับความสัมพันธ์ค่อนข้างดี มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันเท่ากับ 0.360 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนความสัมพันธ์ของความเข้าใจกับทัศนคติ และการใช้กับทัศนคติต่อตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีความสัมพันธ์น้อยมากและไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (5) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีระดับปัญหาอุปสรรคการใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีสัดส่วนสูงสุดในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.269-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--การทำงานth_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.titleความเข้าใจ ทัศนคติ และการใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานหลักงานคุ้มครองผู้บริโภคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดมุกดาหารth_TH
dc.title.alternativeComprehension , attitudes, and application of key performance indicatiors of health consumer protection among responsible health personnel in Mukdahan provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.269-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were as the follows (1) to explore the Comprehension level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province; (2) to explore the Application level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province; (3) to explore the Attitudes level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan; (4) to find relation between Comprehension and Application, Comprehension andAttitudcs, Application and Attitudes of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province; (5) to study problem and Suggestion in Application of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province. This was a descriptive research. The population was 190 Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province. The data were collected via questionare about Comprehension, Application, Attitudes, problem and Suggestion of Key Performance Indicators Health Consumer Protection.Lcvcl of reliability coefficients of questionare were 0.71, 0.9, 0.70, 0.78 conscqucncely. The statistical methods used to analyze the data were frequency distribution, mean, percentage, standard deviation hypothesis testing and test of relation using Pearson Product-Moment Correlation Coefficient. Data were collected by mailed Qucstionairc to target population and sended back to researcher. The result of this study were (1) The Comprehension level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province was in high level; (2) The Application level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province was in high level; (3) The Attitudes level of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan was in high level; (4)Thc relation between Comprehension and Application were in low level. Pearson Product- Moment Correlation Coefficient was 0.360 significance at 0.01. The relation between Comprehension and Attitudes, Application and Attitudes of Key Performance Indicators Health Consumer Protection of Responsibility Public Health Officers in Mukdahan Province were in very low level and not significance at 0.01.; (5) Problem in overview was in median levelen_US
dc.contributor.coadvisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82153.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons