Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10782
Title: | ผลการใช้วิธีสอนอ่านแบบ SQ5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มเครือข่ายสินปุน-ตาปี จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
Other Titles: | The effects of using SQ5R reading teaching method together with Surat Thani folk tales on reading comprehension ability of Prathom Suksa IV students of Sinpun-Tapi School Network in Surat Thani Province |
Authors: | ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ กัณนิฐา ไกรนรา, 2522- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา ศศิธร กาญจนสุวรรณ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ การอ่านจับใจความ การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--สุราษฎร์ธานี นิทานพื้นบ้านไทย--สุราษฎร์ธานี |
Issue Date: | 2562 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีสอนอ่านแบบ SQ5R ศึกษาความพอใจที่มีต่อวิธีสอนอ่านแบบ SQ5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนอ่านแบบ SQ5R (2) แบบทดสอยวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อวิธีสอนอ่านแบบ SQ5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้มูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียน ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีสอนอ่านแบบ SQ5R หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10782 |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License