Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10822
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมเชาว์ เนตรประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริวัฒน์ นารีเลิศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-14T03:50:34Z-
dc.date.available2023-12-14T03:50:34Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10822-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการของ ผู้บริหาร ครูและนักเรียนเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และ (3) สร้างแบบจำลองศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ (1) ผู้บริหาร ครูผู้สอนวิชาทัศนศิลป์และนักเรียนโรงเรียน มัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 552 คนและ (2) ผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคโนโลยีการศึกษา และด้านศิลปะสาขาทัศนศิลป์ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบจำลองศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ แบบสอบถามความ คิดเห็นและความต้องการของผู้บริหาร ครู/อาจารย์ และนักเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินรับรองต้นแบบชิ้นงานจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ จากผลการวิจัยพบว่าศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาขา ทัศนศิลป์ ประกอบด้วย ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ นโยบาย พันธกิจ โครงสร้าง การจัดหน่วยงาน โครงสร้างการจัดศูนย์การเรียนย่อย บุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน การจัดพื้นที่ ภายในอาคาร เครื่องมือและสิ่งอำนวยความสะดวกและงบประมาณ ศูนย์การเรียนนี้ยังประกอบ ด้วยศูนย์การเรียนย่อย 4 ศูนย์ คือ ศูนย์สารสนเทศทัศนศิลป์ ศูนย์สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ศูนย์สืบสานงานทัศนศิลป์ไทย และศูนย์เสริมสร้างอาชีพทัศนศิลป์ ศูนย์การเรียนดังกล่าวได้รับ การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒีอยู่ในระดับดี สามารถนำไปใช้ได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.57-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศิลปะ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectศูนย์การเรียนth_TH
dc.titleแบบจำลองศูนย์การเรียนด้วยตนเองกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeA model for self-directed learning center in school arts learning area for secondary students in Bangkok Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.57-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) studying attitudes and needs of administrators, teachers, and students concerning the establishment of a self-directed learning center in school arts cluster for secondary students in Bangkok educational service areas; (2) study opinions of experts concerning the establishment of a self-directed learning center in school arts cluster and (3) construction a self-directed learning center in school arts cluster. The sample groups consisted of (1) 552 administrators, visual arts teachers and students of secondary schools in Bangkok educational service areas; and (2) 20 educational technology experts and visual arts experts. The employed research instruments consisted of a model for self-directed learning center in school arts cluster; a questionnaires on opinions and needs of administrators, teachers and students; a questionnaires on opinions of experts; and a prototype certifying and evaluation form for experts. The statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, median and inter-quartile range. The research findings indicated that the self-directed learning center in School arts cluster, visual art branch, was composed of the philosophy, resolutions, goals, objectives. policy, missions, structures, organization of working units, structure of sub-learning centers, personnel, basic structure, areas arrangement inside the building, equipment and facilities, and budget. This learning center also consisted of 4 sub-learning conters : visual arts information center; visual arts creation center; visual arts preservation center, and visual arts profession promotion center. The proposed self learning centers had been evaluated and certified by experts as being well conceptualized and feasible for implementationen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons