Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorวัลลภา ชัยนิติกุล, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T08:37:28Z-
dc.date.available2022-08-26T08:37:28Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่ม โดยวัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้นําชุมชน ได้มาโดยการสุ่มชุมชนเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบแล้วเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ ชุมชนละ 40 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย การฝึกอบรมด้วยกระบวนการ AIC และการติดตาม นิเทศ สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของผู้นำชุมชน เก็บข้อมูลก่อนทดลอง หลังทดลองทันทีและหลังทดลอง 2 เดือน โดยแบบทดสอบความรู้มีค่าความเพียง 0.80 และแบบสอบถามทัศนคติและการรับรู้บทบาท มีค่าความเที่ยง 0.92 และ 0.90 ตามลำดับ รวมทั้งใช้ แนวทางการสนทนากลุ่มและการสังเกต เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพระหว่างการไปติดตาม นิเทศ สนับสนุน เดือนละ 2 ครั้ง หลังการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบแบบที และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการทดลองทันที ผู้นําชุมชนในกลุ่มทดลองมีความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้บทบาทในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในระดับสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ (p-value < .001) (2) หลังการทดลอง 2 เดือน ผู้นำชุมชนในกลุ่มทดลองมีความรู้ ทัศนคติและการรับรู้บทบาทในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในระดับสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (P-value < .001) และพบในระดับสูงขึ้นกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (P-value < .001) และ (3) การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของผู้นำชุมชนในกลุ่มทดลองมีมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.216-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน--ไทย--ชัยภูมิth_TH
dc.subjectยาเสพติด--การป้องกันth_TH
dc.titleการพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeThe community leader's potential development in preventing and solving addictive drug problems at Chaiyaphum Municipality areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.216-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the program of the community leader’s potential development in preventing and solving of addictive drug problem at Chaiyaphum municipality area; and was the Quasi Experimental Research; two groups pre-test and post-test design. The sample group was the leader; was the random sampling for compare community and another for experimental community and was the purposive random sampling 40 people in two community. The experimental group had the program of the community leader’s potential development in preventing and solving of addictive drug by AIC process; and training and promoting to the presentation of addictive drug problem. The collecting data was tested knowlage had reliability 0.80 and the attitude, perception of role questionnaire had reliability 0.92,0.90 respectively before and after experimental two months and focus group and observation two per month. The statistical methods used in data analysis were descriptive, percentage, mean, standard deviation, t-test and data quality analysis. The research findings were (1) after the experimental immediately; in the community leader in experimental group had knowledge, attitude, know their role in preventing and solving of addictive drug problem had higher level than before the experimental significant level (p-value < .001). (2) after the experimental two months; in the community leader in experimental group had higher level than before the experimental significant level of addictive drug problem had higher level than before the experimental significant level (p-value < .001).; and had higher level than the compare group significant level of addictive drug problem had higher level than before the experimental significant level (p-value < .001).; and (3) in the presentation for activity of preventing and solving of addictive drug problem; the community leader in experimental group and had higher level than compare groupen_US
dc.contributor.coadvisorสมโภช รติโอฬารth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83133.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons