Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภิรตา ประสงค์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T06:55:00Z-
dc.date.available2023-12-15T06:55:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10881-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันองค์การของเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงเด็กในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ดและสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท (2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านลักษณะงานและปัจจัยด้านประสบการณ์ในงานที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็คและสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไทที่มีต่อองค์การ (3) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การระหว่างเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็อและสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท (4) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงเด็กในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด และสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเพื่อศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 145 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความผูกพันองค์การของเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงเด็กในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็อและสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไทโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์การมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ปัจจัยลักษณะงานด้านความหลากหลายของงาน และปัจจัยประสบการณ์ในงานด้านความมั่นคงและน่าเชื่อถือ (3) การเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การระหว่างเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงในสถานสงเคราะห์ เด็กอ่อนปากเกร็ดและสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท พบว่าเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงที่มีปัจจัยลักษณะ บุคคล ปัจจัยลักษณะงานและปัจจัยประสบการณ์ในงานต่างกันมีผลต่อความผูกพันองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (4) สำหรับแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ การสร้างความภาคภูมิใจของเจ้าหน้าที่ที่มีต่อองค์การและการสร้างความเชื่อมั่นและคาดหวังให้องค์การตอบสนองเสมือนครอบครัว พึ่งพากันทั้งในยามปกติ และยามทุกข์ยากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ดth_TH
dc.subjectสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไทth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงเด็กในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : กรณีการศึกษาเปรียบเทียบสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด กับสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไทth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the organizational engagement of employees in state foster cares : a comparative study of Pakkred babies home and Phayathai babies home under the Ministry of Social Development and Human Securityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the engagement level of babysitting staff; (2) to study personal factors, Job characteristics factors and job experience factors that influence the engagement of babysitters in Pakkret babies home and Phayathai babies home; (3) to compare organizational engagement between babysitters in Pakkret babies home and Phayathai babies home ; (4) and to suggest guidelines for enhancing the organizational engagement of babysitting staffs in Pakkret babies home and Phayathai babies home. The purposes is survey research using a questionnaire to study 145 samples by simple sampling method. Data were analysed by using frequency, mean, standard deviation, analysis of variance and multiple regression analysis. The results showed that; (1) the level of organizational engagement of babysitting staffs in the Baan Pakkret babies home and Phayathai babies home was at a moderate level; (2) the most influential factors in organizational engagement are: personal factors such as age, job characteristics, job diversity, experience, security and reliability; (3) comparison of organizational commitment between babysitters in Baan Pakkret babies home and Phayathai babies home was found that babysitters with varied personal factors, Job characteristics and work experiences were significantly different at the level of 0.05; (4) and guidelines for strengthening the organizational engagement are building pride in employees and building confidence. The employees expect organizations to act as if they were family in both normal times and hard timesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons