Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญth_TH
dc.contributor.authorวิจิตรา พิกุลแก้ว, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T07:25:38Z-
dc.date.available2023-12-15T07:25:38Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10886-
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมิน /เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงและจุลินทรีย์จากตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหารในการลดปริมาณน้ำมัน/ไขมัน และซีโอดี การศึกษาครั้งนี้เก็บตัวอย่างน้าเสียจากบ่อปรับเสถียรของระบบบาบัดน้าเสียจาก โรงอาหารของโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง มาทดสอบประสิทธิภาพการบาบัดน้ามัน/ไขมัน และซีโอดีในแบบจาลองถังย่อยไขมัน โดยแบ่งเป็น 4 ชุดการทดลอง แต่ละชุดการทดลองบรรจุน้าเสียปริมาณ 2 ลิตร ชุดทดลองที่ 1 ไม่มีการเติมอากาศและจุลินทรีย์ ชุดทดลองที่ 2 เติมอากาศ แต่ไม่เติมจุลินทรีย์ ชุดทดลองที่ 3 เติมอากาศและจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูง 3 สูตรการเจือจาง (1:25, 1:15 และสูตรเข้มข้น) และชุดทดลองที่ 4 เติมอากาศและจุลินทรีย์จากตะกอน 3 สูตรการเจือจาง (1:25, 1:15 และสูตรเข้มข้น) ข้อมูลที่รวบรวมได้จากการทดลองจะนำมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้การทดสอบความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดทดลองที่ 4 จุลินทรีย์จากตะกอนที่สูตรการเจือจาง 1:15 มีประสิทธิภาพการบำบัดน้ามัน/ไขมันสูงสุดร้อยละ 58.2 รองลงมาคือชุดทดลองที่ 3, 2 และ 1 ร้อยละ 56.6, 35.9 และ 26.4 ตามลำดับ สาหรับการลดปริมาณซีโอดี ชุดทดลองที่ 3 จุลินทรีย์จากตะกอนที่สูตรการเจือจาง 1:25 มีประสิทธิภาพการบำบัดซีโอดีสูงสุดร้อยละ 43.4 รองลงมาคือ ชุดทดลองที่ 4, 2 และ 1 ร้อยละ 42.7, 27.0 และ 12.8 ตามลำดับ (2) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบำบัดน้ามัน/ไขมัน และซีโอดี ทั้ง 4 ชุดทดลอง พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ แต่เมื่อพิจารณาความเข้มข้นของจุลินทรีย์และชนิดของจุลินทรีย์ที่แตกต่างกัน ไม่มีผลทาให้ประสิทธิภาพการบาบัดแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนั้น จึงสามารถใช้จุลินทรีย์จากตะกอนของระบบบาบัดน้าเสียจากโรงอาหารทดแทนจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัดth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงและจุลินทรีย์จากตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหารth_TH
dc.title.alternativeEfficiencies in wastewater treatment with effective microorganisms and sludge Microbes from a canteen wastewater treatment systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed: (1) to assess the efficiencies of effective microorganisms (EM) and sludge microbes from a canteen wastewater treatment system in reducing the amounts of oil/grease and COD; and (2) to compare the efficiencies of both types of microbes in reducing the amounts of oil/grease and COD. For this study, wastewater samples were collected from the equalization tank of the canteen wastewater treatment system of an industrial factory. To assess the efficiencies in oil/grease and COD removal, four experimental grease digestion sets were set up, each containing about 2 liters of wastewater: Set 1 with neither aeration nor microbes; Set 2 with aeration but no microbes; Set 3 with aeration and EM in three dilutions (1:25, 1:15, and full concentration); and Set 4 with aeration and sludge microbes in three dilutions (1:25, 1:15 and full concentration). Data were collected and then analyzed with the analysis of variance. The results showed that: (1) The experimental Set 4, with 1:15 sludge microbe dilution, had the highest efficiency in oil/grease reduction at 58.2%, followed by Sets 3, 2, and 1 at 56.6%, 35.9% and 26.4% reduction, respectively. As for COD reduction, Set 3, with 1:25 sludge microbe dilution, had the highest COD reduction efficiency at 43.4%, followed by Sets 4, 2, and 1 at 42.7%, 27.0%, and 12.8% reduction, respectively; and (2) Comparing the efficiencies in oil/grease and COD reduction, all four experimental sets exhibited significantly different reductions; but different microbe concentrations and microbe types did not exert any significant differences in treatment efficiencies. Thus, sludge microbes from the canteen wastewater treatment system can be used in lieu of effective microorganisms.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons