Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10887
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
dc.contributor.author | เลิศศักดิ์ บริรักษ์เลิศ, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T07:46:24Z | - |
dc.date.available | 2023-12-15T07:46:24Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10887 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องของกฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์ (2) ศึกษา วิเคราะห์ถึงการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ของประเทศไทย และกฎหมายคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ของสหรัฐอเมริกา และ (3) วิเคราะห์และเสนอแนะแนวทางแก้ไขกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทยให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมายหนังสือบทความเอกสารทางวิชาการ งานวิจัยวิทยานิพนธ์และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนําไปผลการวิจัยผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายการต่อต้านการค้ามนุษย์ ได้แก่ การช่วยเหลือและคุ้มครองผู้เสียหายและเหยื่อการค้ามนุษย์ควบคู่กับการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิด ภายใต้กลไกการประสานงานและการให้ความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) การบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์ยังขาดความชัดเจนในแง่ของคำจำกัดความ ไม่มีบทกำหนดโทษที่เหมาะสมกับความรุนแรงของปัญหา การบูรณาการสรรพกำลังและกำหนดบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่ชัดเจนทั้งในเชิงป้องปรามและป้องกัน รวมทั้งการสร้างความตระหนักรู้และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และภาคธุรกิจผู้ประกอบการยังไม่เพียงพอ (3) เพื่อสัมฤทธิ์ผลของการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์ ผู้เขียนจึงเสนอแนะให้พิจารณาจัดตั้งแผนกในศาลยุติธรรมขึ้นมาพิจารณาคดีเกี่ยวกับการค้ามนุษย์โดยเฉพาะ หรือกำหนดมาตรการอื่นที่จะเร่งกระบวนการดำเนินคดีการค้ามนุษย์ เพื่อให้การดำเนินคดีเป็นไปอย่างรวดเร็ว และสามารถลงโทษผู้กระทำผิดได้อย่างเหมาะสม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การค้ามนุษย์--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การศึกษาการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ของไทย และกฎหมายคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ของสหรัฐอเมริกา | th_TH |
dc.title.alternative | Study of enforeement on anti-human trafficking act, B.E. 2551 (2008) of Thailand and Trafficking Victims Protection Act of United States of America | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมาหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this Independent Study are to: (1) to study the concepts regarding anti-human trafficking laws, (2) to study and analyze the enforcement of anti-human trafficking laws between Anti-Human Trafficking Act, B.E. 2551 of Thailand and Trafficking Victims Protection Act of the United States of America and (3) to analyze and propose appropriate recommendations to the law relation to actions in preventing and combating human trafficking in Thailand to be appropriate and effective. The legal qualitative approach is analyzed for this study with the methodology of documentary research by provisions of law, text books, articles, academic papers, thesis and other sources from internet in both the Thai and English language. All of these are analyzed and synthesized so as to acquire research outcomes. The results showed that (1) The concepts regarding anti-human trafficking laws was to assist and protect victims of human trafficking along with prosecute offenders under the coordination and cooperation with any relevant agencies. (2) The enforcement of anti-human trafficking laws was not clear to in terms of definition. There was not appropriate penalties to the severity of the problem. The integration of forces and the role of the relevant departments were not yet clear, both deterrent and prevention. Including raise awareness and promote the participation of the public and business sectors were not enough. And (3) The enforcement of anti-human trafficking laws has been successfully. Therefore, the researcher proposed that created a department involve human trafficking cases in the Court of Justice to consider cases specifically or prescribed measures speeding up the human trafficking litigation process to be let the proceedings go quickly | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License