Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญth_TH
dc.contributor.authorรัศมี แสงชุ่ม, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T08:21:17Z-
dc.date.available2023-12-15T08:21:17Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10892en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 และ (2) เปรียบเทียบระดับภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 จําแนกตามขนาดของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูผู้สอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2562 กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเคร็จ และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 242 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นและการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของ ผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การสนับสนุน การบริหารจัดการและการดําเนินการด้านเทคโนโลยี รองลงมา ได้แก่ การผลิตและการปฏิบัติทางวิชาชีพในการใช้เทคโนโลยี ความรู้ทางสังคม กฎหมาย จริยธรรมด้านเทคโนโลยีและการปฏิบัติ การเรียนรู้และการเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยีในการวัดผลและการประเมินผล และความเป็นผู้นําและ มีวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยี ตามลําดับ และ (2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาตาม การรับรู้ของครูในสถานศึกษาจําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า ภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลางแตกต่างจากผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริหาร สถานศึกษาขนาดกลางจะมีภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีมากกว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กในทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeTechnological leadership of school administrators as perceived by teachers in schools under Prachuab Khiri Khan Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the level of technological leadership of school administrators as perceived by teachers in schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area Office 2; and (2) to compare the levels of technological leadership of school administrators as perceived by teachers in schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area Office 2 as classified by school size. The research sample consisted of 242 teachers in schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area Office 2 during the academic year 2019, obtained by stratified random sampling and simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan Sample Size Table. The employed research instrument was a rating-scale questionnaire, with reliability coefficient of .98. Data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the overall technological leadership of the school administrators was rated at the high level; when specific aspects of technological leadership were considered, it was found that all aspects were rated at the high level, with the aspect receiving the top rating mean being that of the supports, management, and operation of technology, followed by that of the production and professional practice in technological implementation, that of the social knowledge, law and ethics in technology and practice, that of the learning and instruction, that of the use of technology in measurement and evaluation, and that of leadership and having technological vision, respectively; and (2) regarding the comparison of technological leadership levels of school administrators as classified by school size, it was found that technological leadership level of medium sized school administrators was significantly different from that of small sized school administrators at the .05 level of statistical significance, with technological leadership level of medium sized school administrators being significantly higher than that of small sized school administrators in every aspect of technological leadership.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons