Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorรัชสิรินธร์ ศรีจันทร์แจ่มth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T08:36:17Z-
dc.date.available2023-12-15T08:36:17Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10895en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและ การเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุรินทร์ เขต 3 และ (2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียน ภาษาไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จำนวน 809 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบ วินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความตรง ค่าความเที่ยง ค่าความยาก และค่าอำนาจจำแนก ผลการวิจัย พบว่า (1) แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านภาษาไทย ประกอบด้วย 9 เรื่อง ได้แก่ การอ่านคำที่มีตัวการันต์ อักษรควบ อักษรนำ การอ่านผันวรรณยุกต์ คำอักษรย่อ เครื่องหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การอ่านสำนวน โวหารและ การเปรียบเทียบ และการอ่านจับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการเขียน ภาษาไทย ประกอบด้วย 4 เรื่อง ได้แก่ การเขียนสะกดคำ การเลือกใช้คำเขียนประโยคและเรื่องราว การเขียนย่อความ และการเขียนเรียงความ และ (2) แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านภาษาไทย มีความตรงอยู่ระหว่าง .80-1.00 ความยากรายข้ออยู่ระหว่าง .50 -.79 อำนาจจำแนกรายข้ออยู่ ระหว่าง .25 - .63 และความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.804 - 0.949 และแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะ การเขียนภาษาไทย มีความตรงอยู่ระหว่าง .80-1.00 ความยากรายข้ออยู่ระหว่าง .50 -.79 อำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .26 - .68 และความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.846 - 0.947th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.106en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การอ่าน--แบบทดสอบth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การเขียน--แบบทดสอบth_TH
dc.subjectแบบทดสอบวินิจฉัยth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeThe development a Thai reading and writing skills diagnostic test for Prathom Suksa V students under Surin Educational Service Area office 3th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.106-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were (1) to construct a Thai reading and writing skills diagnostic test for Prathom Suksa V students under Surin Educational Service Area office 3; and (2) to examine the quality of the developed Thai reading and writing skills diagnostic test. The research sample consisted of 809 Prathom Suksa V students in schools under Surin Educational Service Area office 3. The instrument employed in this research was a Thai reading and writing skills diagnostic test. The statistics employed for data analysis were the percentage, validity index, reliability coefficient, difficulty index, and discriminating index. Research findings revealed that (1) the developed Thai reading skills diagnostic test was composed of nine content areas: reading words with non-pronounced consonants, reading linking consonant words, reading initial consonant words, reading words with intonations, reading abbreviations, reading punctuations, reading prose and poetry, reading idioms speeches and comparisons, and reading for comprehension; the Thai writing skills diagnostic test was composed of four content areas: spelling, choosing words to write sentences and stories, summary writing, and essay writing; and (2) the developed Thai reading skills diagnostic test had the validity indices ranging from .80 - 1.00, the item difficulty indices ranging from .50 -. 79, the item discriminating indices ranging from .25 - .63, and reliability coefficients ranging from 0.804 - 0.949; and the Thai writing skills diagnostic test had the validity indices ranging from .80 - 1.00, the item difficulty indices ranging from .50 - .79, the item discriminating indices ranging from .26 - .68, and the reliability coefficients ranging from 0.846 - 0.947.en_US
dc.contributor.coadvisorศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons