Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10898
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นรา สมประสงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ โสธารัตน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-18T03:28:46Z | - |
dc.date.available | 2023-12-18T03:28:46Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10898 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี (2) ศึกษาสุขภาพองค์การของโรงเรียน (3) เปรียบเทียบแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน จำแนกตามตัวแปรสถานภาพ (4) เปรียบเทียบสุขภาพองค์การของโรงเรียน จำแนกตามประเภทของโรงเรียน และ (5) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับสุขภาพองค์การในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี จำนวน 253 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า เกี่ยวกับภาวะผู้นำตาม แนวคิดทฤษฎีของบาสและอโวลิโอ มีค่าความเที่ยง .96 และแบบสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพองค์การ ในโรงเรียนตามแนวคิดของฮอยและเฟลด์แมน มีค่าความเที่ยง .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ โดยทดสอบนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารโรงเรียน มีแบบภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและ แบบเปลี่ยนสภาพอยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้าน (2) สุขภาพองค์การในโรงเรียนอยู่ใน ระดับค่อนข้างดี (3) ผู้บริหารโรงเรียนที่มีวุฒิทางการบริหารต่างกันและจำนวนปีในการบริหาร ต่างกันมีการใช้แบบภาวะผู้นำต่างกัน (4) โรงเรียนแต่ละประเภท มีสุขภาพองค์การโดยรวมไม่ ต่างกันและ (5) แบบภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและแบบเปลี่ยนสภาพทุกด้าน สามารถทำนาย สุขภาพองค์การในโรงเรียนได้ 36.5% | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.46 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน--แง่อนามัย | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับสุขภาพองค์การในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationships between leadership style of school administrators and organizational health of schools under the offices of Surat Thani Educational Service Area | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.46 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) study the leadership style of school administrators under the offices of Surat Thani Educational Service Area; (2) study organizational health of the schools; (3) compare leadership styles of school administrators classified by status factors; (4) compare organizational health levels of school classified by school category; and(5) stydy relationships of school administrator's leadership style and organizational health of the schools. The research sample consisted of 253 school administrators under the offices of Surat Thani Educational Service Area. The employed research instruments were the Multifacet Leadership Questionnaire based on the concept of Bass and Avolio, with .96 reliability coefficient; and the Organizational Health Inventory Questionnaire based on the concept of Hoy and Feldman, with .96 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, Scheffe method for pair-wise comparison, Pearson correlation, and multiple regression analysis. The .05 statistecal significance level was pre-determined for hypothesis testing. Research findings revealed that (1) school administrators had the transactional and transformational leadership styles at the high level for both the leadership as a whole and for each leadership aspect; (2) the organizational health of the schools was at the rather good level; (3) school administrators with different administrative qualifications and administration years differed significantly in their leadership styles; (4) schools of different categories did not significantly differ in their levels of organizational health; and (5) school administrator's transactional and transformational leadership style could predict organizational health of the school by 36.5 percent. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | โกศล มีคุณ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License