Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทองth_TH
dc.contributor.authorขวัญใจ ใจอินถาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-18T07:34:37Z-
dc.date.available2023-12-18T07:34:37Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10903en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2551 ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 ได้มาโดยการเลือกแบบหลายขั้นตอน จำนวน 330 คน เครื่องมือที่พัฒนาในการวิจัยเป็นแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ของนักเรียนช่วงชั้น ที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 จำนวน 20 ข้อ เป็นข้อสอบแบบ อัตนัย ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินโดยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาด้วยวิธีหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง ตรวจสอบความยากและอำนาจจำแนกโดยใช้สูตรของวิทนีย์ และซาเบอร์ และ ตรวจสอบความเที่ยงด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่สร้างขึ้นเป็น ข้อสอบแบบอัตนัย มีจำนวน 20 ข้อ ประเมินตัวบ่งชี้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการอ่าน จำนวน 9 ข้อ ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 9 ข้อ และด้านความสามารถในการ เขียน จำนวน 2 ข้อ และ (2) แบบประเมินมีความตรงเชิงเนื้อหา โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง .50 ถึง 1.00 มีความยากระหว่าง .56 ถึง .80 มีอำนาจจำแนกระหว่าง .46 ถึง .84 มีความ เที่ยงด้านความสามารถในการอ่าน เท่ากับ .99 ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เท่ากับ .99 ด้านความสามารถในการเขียน เท่ากับ .96 และความเที่ยงรวมทั้งฉบับ เท่ากับ .99th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.23en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--การประเมินth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การเขียน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--ตากth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ของนักเรียนช่วยชั้นที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe development of an evaluation instrument on reading, analytical thinking, and writing skills for second level students in schools under the Office of Tak Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.23-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop an evaluation instrument on reading, analytical thinking, and writing skills for second level students in schools under the Office of Tak Educational Service Area 2; and (2) verify the quality of the evaluation instrument on reading, analytical thinking, and writing skills for second level students in schools under the Office of Tak Educational Service Area 2. The research sample consisted of 330 Prathom Suksa VI students studying in the 2008 academic year in the schools under the Office of Tak Educational Service Area 2, obtained by multi-stage sampling. The developed research instrument was an evaluation instrument on reading, analytical thinking, and writing skills for second level students in schools under the Office of Tak Educational Service Area 2. It was a 20-item essay-type test. The content validity of the developed test was verified by the item-objective congruence (IOC) index. Each item's difficulty level and discriminating power were verified with the use of the Whitney and Saber formula. Its reliability was verified by Pearson product moment correlation coefficient. Research findings indicated that (I) the developed evaluation instrument on reading, analytical thinking and writing skills was an essay-type test containing 20 items for assessment of indicators of three learning abilities: nine items for assessment of reading ability, nine items for assessment of analytical thinking ability, and two items for assessment of writing ability; and (2) content validity of the evaluation instrument, as show by the IOC index, ranged from .50 to 1.00; its difficultly indices were in the range of .56 to .80 and its discriminating indices were in the range of .46 to .84; and reliability coefficients of the instrument were as follows: .99 for reading ability, .99 for analytical thinking ability, .96 for writing ability, and .99 for overall.en_US
dc.contributor.coadvisorทัศนีย์ ชาติไทยth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons