Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorราชิดา บุญมาศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T03:10:29Z-
dc.date.available2023-12-19T03:10:29Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10905-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (I) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์สาระการ ดำรงชีวิตและครอบครัว เรื่องการขยายพันธุ์พืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมุสลิมสันติธรรมมูลนิธิ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เรียนในภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 32 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิง ประสบการณ์ สาระการดำรงชีวิตและครอบครัว เรื่อง การขยายพันธุ์พืช จำนวน 3 หน่วย ประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 8 การตอนกิ่ง หน่วยประสบการณ์ที่ 9 การทาบกิ่ง และ หน่วยประสบการณ์ที่ 10 การติดตา (2) แบบทดสอบก่อนเผชิญประสบการณ์และหลังเผชิญ ประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับคุณภาพชุดการ สอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วย E,/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย ประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 80.53/80.43,81.67/80.22 และ82.47/82.17 ตามลำดับเป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดการสอน แบบอิงประสบการณ์ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.127-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectพืช--การขยายพันธุ์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์สาระการดำรงชีวิตและครอบครัวเรื่องการขยายพันธุ์พืชสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of experience-based instructional packages in life and family works on plant propagation for Prathom Suksa V students in Nakhon Si Thammarat Educational Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.127-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-folds: (1) to develop a set of experience-based instructional packages in Life and Family Works on Planting Propagation for Prathom Suksa V students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the progress of Prathom Suksa V students learning from the experience-based instructional packages; and (3) to study the opinion of Prathom Suksa V students on the quality of the experience-based instructional packages. Samples were 32 Prathom Suksa V students of the Muslim Santitham School,Muang District of Nakorn Srithammarat Educational Service Area I using cluster sampling technique. Research tools comprised (1) Three units of experience- based instructional packages in Planting Reproduction, namely Unit 8: Layering; Unit 9: Grafting; and Unit 10: Budding ; (2) Pretests and posttests in parallel forms; and (3) Questionnaires asking the students' opinion on the quality of the experience-based instructional packages in Planting Reproduction; and (4) Statistics used were E1/E2, t- test, percentage, and Standard Deviation. Findings: It was found that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 80.53/80.43, 81.67/80.22; and 82.47/82.27 respectively; thus meeting the set efficiency criterion at 80/80; (2) The learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages was significantly increased at the 0.05 level; and (3) The opinion of the students on the quality of the experience-based instructional packages was "Highly Agreeable"en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons