Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10914
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิกรณ์ รักษ์ปวงชน | th_TH |
dc.contributor.author | มนัฎชนก งามละม้าย, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T07:03:50Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T07:03:50Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10914 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี ลักษณะทั่วไปของการลงโทษทางอาญา และการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (2) ศึกษาถึงหลักการและแนวคิดความเป็นมาเกี่ยวกับการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ (3) วิเคราะห์ปัญหาการบังคับโทษปรับและการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวรวมทั้งข้อดีและข้อเสียที่เกี่ยวข้อง (4) เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการกำหนดโทษทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา และแนวทางในการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว มาใช้ในการควบคุมตัวผู้ต้องโทษปรับทางอาญาแทนค่าปรับ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความเห็นของนักนิติศาสตร์ รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อมูลกฎหมาย ทางอินเตอร์เน็ต เพื่อที่จะได้รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบนำมาใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิด ทฤษฎี ลักษณะทั่วไปของการลงโทษทางอาญา ยังไม่สามารถบังคับโทษปรับทางอาญาได้ตรงตามเจตนารมณ์ตามกฎหมาย หากนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาบังคับใช้กับ ผู้ต้องโทษปรับทางอาญาจะเป็นประโยชน์มากขึ้น (2) แนวคิดในการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ ยังพบปัญหาในการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ความคุม ผู้ต้องโทษปรับ (3) เมื่อวิเคราะห์ปัญหาการบังคับโทษปรับและการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้กับผู้ต้องโทษปรับทางอาญาแล้ว จึงทำการเปรียบเทียบถึงข้อดีและข้อเสียในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) จึงเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการกำหนดโทษทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา และแนวทางในการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ในการควบคุมตัวผู้ต้องโทษปรับทางอาญาแทนค่าปรับ เพื่อเป็นการให้โอกาสแก่ผู้ต้องโทษปรับ โดยเฉพาะผู้ที่มีฐานะยากจนและไม่มีเงินชำระค่าปรับ ศาลก็สามารถที่จะเลือกใช้มาตรการอื่นมาใช้บังคับแทนได้ โดยการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยในส่วนของการบังคับโทษปรับ เสนอแนะให้แก้ไขในประมวลกฎหมายอาญาตาม มาตรา 30/1 ปัญหาการกำหนดมาตรการในการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้บังคับโทษปรับ เสนอแนะให้แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 มาตรา 14 ปัญหาการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้กับผู้กระทำความผิด เสนอแนะให้นำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้เป็นวิธีเพื่อความปลอดภัย โดยบัญญัติให้ศาลใช้ดุลยพินิจเป็นวิธีการเพื่อความปลอดภัยแทนการใช้โทษปรับทางอาญา และควรให้รัฐมีการจัดแนวทางในการสนับสนุนมาตรการดังกล่าว เพื่อให้การนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวถูกนำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักโทษ--ระบบติดตาม | th_TH |
dc.subject | การปล่อยชั่วคราว--ไทย | th_TH |
dc.subject | การคุมประพฤติ--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การบังคับโทษปรับโดยการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ควบคุมผู้ต้องโทษปรับทางอาญา | th_TH |
dc.title.alternative | Enforcement of fines by using by using electronic monitoring to control persons with the offense of criminal confinement | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were (1) study concepts, theories, general characteristics of criminal punishment, and the use of electronic monitoring, (2) study principles, concepts and background of the use of electronic monitoring in the justice system of Thailand, United States of America, and England, (3) analyze problems related to enforcement of fine and the use of electronic monitoring including relevant advantages and disadvantages, and (4) propose a problem solving guideline for criminal punishment determination according to the Criminal Code and a guideline to use electronic monitoring to control persons with the offense of criminal confinement instead of paying fines. For the methodology, this study was conducted on the basis of qualitative study design by investigating documents in Thai and foreign languages, theses, research studies, articles, rules and regulations of relevant agencies, jurists’ opinions, related documents including legal information on the internet so as to collect information in a systematic manner to be the conceptual framework of this independent study. The major findings revealed that (1) the concepts, theories, general characteristics of criminal punishment still unable to enforce criminal fines according to the intent of the law. If the electronic monitoring is enforced with Criminal fines will be more helpful, (2) the concepts of using electronic monitoring in the justice system of Thailand, United States of America, and England had problems related to the use of electronic monitoring to control persons with the offense, (3) after analyzing problems related to enforcement of fine and the use of electronic monitoring with persons with the offense of criminal confinement, relevant advantages and disadvantages were compared, and (4) Problem solving guidelines for criminal punishment determination according to the criminal code and the use of electronic monitoring were proposed to control persons with the offense of criminal confinement instead of paying fines in order to give those persons a chance, especially those are poor. The court is able to choose other measures to enforce. The guidelines for solving inequality problems in the justice system of Thailand in the part of enforcement of fines should be proposed by amending the Criminal Code Section 30/1. For the problems related to determination of measures for the use of electronic monitoring, the provisions of Section 14 under Probation Act B.E.2559 (2016) should be amended. (3) for the problems related to the use of electronic monitoring with persons committing the offense, electronic monitoring as a safety method should be used, judicial discretion is provided instead of using the enforcement of criminal fines to ensure that electronic monitoring will be used more efficiently and the government should support those measures. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166863.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License