Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th_TH
dc.contributor.authorปารเมศ อักษรดี, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T07:41:40Z-
dc.date.available2023-12-19T07:41:40Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10921en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหากฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (2) ศึกษาแนวคิดความปลอดภัย การคุ้มครองผู้บริโภค และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทของประเทศไทย (3) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น และประเทศสหรัฐอเมริกา (4) หาแนวทางมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทในประเทศไทย การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาจาก พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 355 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 349 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 และกฎหมายต่างประเทศได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งรวมถึงกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์และข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย ผู้วิจัยทำการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์จากเนื้อหาที่ได้จากการวิจัยเอกสารและการทบทวนวรรณกรรม เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการจัดทำข้อเสนอแนะแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายในเรื่องปัญหากฎหมายเกี่ยวกับอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท จากการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคควรได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (2) พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ยังไม่มีข้อกำหนดของ HACCP ที่ให้ผู้ประกอบการดำเนินกิจกรรมเพื่อความปลอดภัยในกระบวนการผลิตสินค้า และยังไม่มีอนุคณะกรรมการที่มีความรู้ในด้านอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทไว้โดยเฉพาะ (3)สหรัฐอเมริกาใช้ระบบความปลอดภัย HACCP เป็นกฎหมาย และใช้กฎหมาย SFMA ควบคุมความปลอดภัยอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ในขณะที่ประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทยใช้ระบบ HACCP เป็นภาคสมัครใจ (4) ใช้แนวทางแก้ไขโดยจัดตั้งคณะอนุกรรมการอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทไว้โดยเฉพาะและกำหนดให้ผู้ประกอบการดำเนินกิจกรรมเพื่อความปลอดภัยในกระบวนการผลิตสินค้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.7en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectข้อบังคับทางการค้า--ไทยth_TH
dc.subjectการบรรจุหีบห่อ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหากฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทth_TH
dc.title.alternativeFood safety law issues in sealed containersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2020.7-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.7en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research has the objectives to (1) study legal problem of food safety in a hermetically sealed container, (2) study concepts relating to safety, consumer protection and standard of food product in a hermetically sealed container in Thailand, Japan and United States of America, (3) compare legal measures for consumer protection in Thailand with foreign countries, (4) find guidelines of legal measures for consumer protection relating to food product in a hermetically sealed container in Thailand. This research is a qualitative research with a method of documentary research. Data, which have been used for studying, are from Food Act B.E. 2522, Ministry of Public Health Notification No. 355, Ministry of Public Health Notification No. 349, Consumer Protection Act B.E. 2522, Product Liability Act B.E. 2551, and the laws in foreign countries such as the United States of America, Japan and related laws, books, articles, academic papers, researches, thesis, and information from internet, both Thai and English. Data have been collected from primary and secondary sources. The method of this research includes qualitative data analysis and synthesis approach. The analysis has been made to the contents obtained from researches, papers, and literature reviews for being guidelines to provide suggestions for amendment of laws relating to the problems of food in a hermetically sealed container. The result of study found that (1) consumers should be safe to consume food in hermetically sealed containers, (2) there is no requirement of HACCP provided in Food Act B.E. 2522, and related laws for business operators to carry out safety activities in the production process, and there is no specific subcommittee who has knowledge of food in hermetically sealed containers, (3) the United States of America requires mandatory HACCP safety system, and enforce the law on SFMA to govern food safety in hermetically sealed containers, while the HACCP system in Japan and Thailand is voluntary law on SFMA to govern food safety in hermetically sealed containers, while Japan and Thailand use the HACCP system as a voluntary law, (4) take a solution guideline with establishing a specific subcommittee for food in hermetically sealed containers, and operators are required to carry out safety activities in the production process.en_US
dc.contributor.coadvisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166912.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons