Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10927
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพงษ์ แตงตาด | th_TH |
dc.contributor.author | ประมุข เจียมจิตร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T08:15:14Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T08:15:14Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10927 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 1 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องทฤษฎีกราฟ เบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องทฤษฎีกราฟ เบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนบุญวาทย์ วิทยาลัย เขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบ ก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และแบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 โดยทั้ง 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 11 หน่วยที่ 12 และหน่วยที่ 13 มีประสิทธิภาพ 81.14/82.00, 79.43/82.14 และ 81.90/82.43 ตามลำดับ (2) นักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนผ่านเครือข่ายว่า อยู่ในระดับเห็นด้วยที่จะนำไปใช้ในการสอนเรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.146 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | th_TH |
dc.subject | ทฤษฎีกราฟ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--ลำปาง | th_TH |
dc.subject | การเรียนการสอนผ่านเว็บ | th_TH |
dc.title | ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสำหรับคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Computer-based learning packages via network in the career and technology learning area on the topic of introduction to graph theories for computer for Mathayom Suksa IV students in Lampang Educational Service Area 1 | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.146 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research sample consisted of 35 purposively selected Mathayom Suksa IV students The purposes of this research were (1) to develop the computer-based learning packages via network in The career and Technology Learning Area on the topic of Introduction to Graph Theories for Computer for Mathayom Suksa IV Students in Lampang Educational Service Area 1 with 80/80 in efficiency standard, (2) to study the learning progress of students who learned from the computer-based learning packages via network in The career and Technology Learning Area on the topic of Introduction to Graph Theories for Computer, and (3) to study the opinions of the students who learned from the computer-based learning packages via network in the Science Learning Area on the topic of Introduction to Graph Theories for Computer. studying at Bunyawatwithayalai School in Lampang Educational Service Area 1 in the 2009 academic year 2009. The research instruments used in the study were (1) the computer-based learning packages via network in The career and Technology Learning Area on the topic of Introduction to Graph Theories for Computer, (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to investigate the student's opinions. Data were statistically analyzed to determine the efficiency of the computer-base learning packages by means of the E1/E2 efficiency, means, standard deviation, and t-test. The results of study indicated that: (1) the three units of computer-based learning packages via the network, namely, Unit 11, Unit 12, and Unit 13 met the 80/80 efficiency criterion as shown by their efficient indices of 81.14/82.00, 79.43/82.14, and 81.90/82.43 respectively; (2) the students significantly achieved learning progress at .05 level; and (3) the students opined that the computer-based learning packages via network were highly appropriate. . | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปรีชา เนาว์เย็นผล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License