Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10934
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุกานดา สีทา, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T02:43:51Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T02:43:51Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10934 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานกับของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานกับของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติและ(3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of problem-based learning management on science learning achievement in the topic of the changing conditions of the earth and science problem solving ability of Mathayom Suksa II students at Pak Chong School in Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to compare the post-learning science learning achievement of Mathayom Suksa II students at Pak Chong School, Nakhon Ratchasima province, who learned under problem-based learning management with that of students who learned under the traditional learning management; (2) to compare science problem solving ability of the students who learned under problem-based learning management with that of the students who learned under the traditional learning management; and (3) to compare the pre-learning and post-learning science problem solving abilities of the students who learned under problem-based learning management. The research sample consisted of 76 Mathayom Suksa II students in two intact heterogeneous classrooms of Pak Chong School in Nakhon Ratchasima province, obtained by cluster random sampling. Then, one class was randomly assigned as the experimental group; while the other class, the control group. The instruments used in this research comprised (1) learning management plans in the topic of the Changing Conditions of the Earth for problem-based learning management; (2) a science learning achievement test in the topic of the Changing Conditions of the Earth; and (3) a scale to assess student’s science problem solving ability. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the post-learning science learning achievement of Mathayom Suksa II students at Pak Chong School, Nakhon Ratchasima province, who learned under problem-based learning management was significantly higher than that of the students who learned under the traditional learning management at the .05 level of statistical significance; (2) science problem solving ability of the students who learned under problem-based learning management was significantly higher than that of the students who learned under the traditional learning management at the .05 level of statistical significance; and (3) the post-learning science problem solving ability of the students who learned under problem-based learning management was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License