Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรพิชญ์ วิริยากุลภัทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-20T03:47:25Z-
dc.date.available2023-12-20T03:47:25Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10938-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อน และหลังที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบจิตสำนึกสาธารณะระหว่างกลุ่มที่ได้รับการใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวกับกลุ่มที่ได้รับข้อสนเทศเพื่อการแนะแนว และ (3) เปรียบเทียบจิตสำนึกสาธารณะของ กลุ่มทดลอง ภายหลังการทดลองกับในช่วงระยะเวลาติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553โรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 100คน มีลักษณะที่เป็นตัวแทนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จากนั้นจึงใช้ วิธีการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเข้ากลุ่ม เป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 50 คน กลุ่มทดลองได้รับ โปรแกรมการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา จิตสำนึกสาธารณะ กลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมชุดข้อสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบ วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจิต สำนึกสาธารณะมีค่าความเที่ยง 0.98 (2) แบบประเมินพฤติกรรมเชิงจิตสำนึก สาธารณะของนักเรียน มีค่าความเที่ยง 0.90 (3) แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรมจิตสำนึกสาธารณะมีค่าความ เที่ยง 0.93 (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียน รู้เพื่อพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะของ นักเรียนมีความเที่ยง 0.98 (5) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ และ (6) ชุดข้อสนเทศเพื่อการ แนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะนักเรียนกลุ่ม ทดลองมีจิตสำนึกสาธารณะสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ นักเรียนกลุ่มทดลองมีจิตสำนึกสาธารณะสูงขึ้นกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ข้อสนเทศ เพื่อการแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 และ (3) ในระยะติดตามผล นักเรียนกลุ่มทดลองยังคงมี จิตสำนึกสาธารณะคงทน โดยระดับของจิตสำนึกสาธารณะเมื่อสิ้นสุดการทดลองกับในระยะติดตามผลไม่ แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.40-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--สุราษฏร์ธานีth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวัดสุราษฏร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to develop public Mindedness of Prathom Suksa II Students at Thida Mac Phra school in Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.40-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare the levels of public mindedness of students in the experimental group before and after using a guidance activities package; (2) compare the level of public mindedness of students in the group that used the guidance activities package with that of the students in the group that use a guidance information program; and (3) compare the level of public mindedness of the experimental group at the end of the experiment with their counterpart level during the post-experiment follow-up period. The employed research sample consisted of 100 Prathom Suksa II students obtained by cluster sampling to be good representatives of Prathom Suksa II students studying in the first semester of the 2010 academic year at Thida Mae Phra School in Surat Thani Province. They were then randomly selected into two classrooms each of which consisted of 50 students. After that, one classroom was randomly assigned as the experimental group receiving a guidance activities package to develop public mindedness; while the other classroom was randomly assigned as the control group receiving a guidance information program. The research instruments comprised (1) a test to assess knowledge and understanding of public mindedness, with reliability value of 0.98; (2) an evaluation form to assess public mindedness behaviors of students, with reliability coefficient of 0.90; (3) a public mindedness behavior observation and record form, with reliability coefficient of 0.93; (4) a questionnaire on student's satisfaction with guidance activities to develop public mindedness of students, with reliability coefficient of 0.98; (5) a guidance activities package to develop public mindedness; and (6) a guidance information program. Statistics for data analysis were the basic descriptive statistics and t-test. The research findings showed that (1) after using the guidance activities package to develop public mindedness, the experimental group students' level of public mindedness increased significantly at the .01 level; (2) after using the guidance activities package to develop public mindedness, the experimental group students' level of public mindedness was significantly higher than that of the control group students who used the guidance information program at the .01level; and (3) the experimental group students could retain the level of their public mindedness as shown by no significant difference between their level of public mindedness at the completion of the experiment and the counterpart level during the subsequent follow- up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons