Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนวงศ์th_TH
dc.contributor.authorสุภาวดี วัชระคุปต์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-20T04:15:51Z-
dc.date.available2023-12-20T04:15:51Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10939en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา ช่วงชั้นที่ 3 - 4 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน เกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา ช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ทำงาน และ (3) ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา ช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน รวม 400 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติที่ ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา โดยภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อวิเคราะห์ความคิดเห็นต่อการบริหารหลักสูตรในแต่ละด้าน ก็ พบว่ามีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเตรียมความพร้อม ของสถานศึกษา ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการดำเนินการบริหารหลักสูตร (ใช้หลักสูตร) และด้าน การสรุปผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และเมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น ต่อการบริหารหลักสูตรของ สถานศึกษา ตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีความ คิดเห็นไม่แตกต่างกัน และ (3) เกี่ยวกับปัญหา พบว่า ขาดการสำรวจความต้องการและการมีส่วนร่วมของชุมชน การวางแผนยังไม่ชัดเจน บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดการรายงาน ติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และ ขาดหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตร ส่วนแนวทางแก้ไขคือ ควรจัดตั้งกลุ่มสำรวจความต้องการและให้ ชุมชนมามีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตร ควรจัดประชุม อบรม เพื่อชี้แจงแผน และขั้นตอนในการดำเนินงานที่ ชัดเจน ควรจัดให้มีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่องให้เป็นระบบ และนำข้อสรุปผลการบริหารจัดการไป ปรับปรุงในปีต่อไปโดยทำอย่างต่อเนื่องและจริงจังth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.53en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหลักสูตร--การบริหารth_TH
dc.titleการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา ช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe administration of school-based curriculum of the third and fourth level basic education schools under the Offices of Nonthaburi Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.53-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the administration of school-based curriculum of the Third and Fourth Level basic education schools under the Offices of Nonthaburi Educational Service Area; (2) compare opinions of school administrators and teachers on the administration of school-based curriculum of the Third and Fourth Level basic education schools under the Offices of Nonthaburi Educational Service Area, classified by position, educational qualification, and work experience; and (3) study problems and suggestions for solving problems concerning administration of school-based curriculum of the Third and Fourth Level basic education schools under the Offices of Nonthaburi Educational Service Area. The research sample consisted of 400 randomly selected school administrators and teachers. The research instrument was a rating scale questionnaire developed by the researcher with reliability of .96. The statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and ANOVA. The Research findings revealed that (1) the overall administration of school- based curriculum was at the moderate level; (2) significant difference at the .05 level was found when opinions of school administrators and teachers on the overall administration of school-based curriculum were compared; when their opinions on each aspect of school-based curriculum administration were compared, significant difference at the .05 level was found in four aspects, namely, the aspect of readiness preparation of the school, the aspect of school- based curriculum development of the school, the aspect of curriculum implementation, and the aspect of conclusion of operation of the school; and when opinions of school personnel as classified by position, educational qualification, and work experience were compared, no significant difference was found on both the overall and by-aspect administration of school- based curriculum; and (3) regarding the problems, the following problems were identified: the lack of survey on the needs and participation of the community; the lack of clarity of planning; the lack of knowledge and understanding on the part of the personnel; the lack of reporting, monitoring, and evaluation on a continuous basis; and the lack of work units to provide supports on curriculum development; as for suggestions for solving problems, the following were given: a work unit to conduct surveys on community needs and community participation in curriculum development should be established; meetings and in-service trainings should be organized to clarify the plans and operations on school-based curriculum administration; there should be continuous and systematic monitoring and evaluation and utilization of feedback information on school-based curriculum administration outcomes for improvement in subsequent years on a continuous and concrete basis.en_US
dc.contributor.coadvisorวรรณ์ดี แสงประทีปทองth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons