Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชราลักษณ์ ไคบุตร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T04:10:02Z-
dc.date.available2023-12-21T04:10:02Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10955-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรม การแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนที่มีปัจจัยจิตลักษณะต่างกัน (2) เพื่อเปรียบเทียบ พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนที่มีปัจจัยสถานการณ์ทางสังคมต่างกัน และ (3) เพื่อศึกษาปัจจัยชีวสังคม ปัจจัยจิตลักษณะ และปัจจัยสถานการณ์ทางสังคมที่มีผลต่อการ แสดงออกทางเพศที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนหญิงในโรงเรียนสตรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุดรธานี เขต 1 จังหวัดอุดรธานี จำนวน 319 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบวัดประเภทมาตรประเมินค่า มีค่าความเที่ยง ตั้งแต่ .75 ถึง .83 สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลคือการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป็นรายคู่ด้วยวิธีการเชฟเฟ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) กลุ่มตัวอย่างที่มีตัวแปรจิตลักษณะด้านการเห็นคุณค่าในตนเอง และด้านเจตคติต่อการแสดงออกทางเพศที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสม ไม่แตกต่างกัน (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีสถานการณ์ทางสังคมด้านการอบรมเลี้ยงดูและด้านสัมพันธภาพ กับเพื่อนเพศเดียวกันที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นกลุ่มตัวอย่างที่มีสัมพันธภาพกับเพื่อนต่างเพศที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการแสดงออกทาง เพศที่เหมาะสมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อ พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียน คือ เจตคติต่อการแสดง ออกทางเพศ โดยมี ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเป็น 0.144 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.33-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียน--พฤติกรรมทางเพศth_TH
dc.subjectโรงเรียนสตรี--นักเรียน--พฤติกรรมทางเพศth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนหญิงในโรงเรียนสตรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting appropriate sexual expression behaviors of female students at girls schools under the office of Udon Thani Educational Service Area 1 in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.33-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was a survey research with the purposes (1) to compare appropriate sexual expression behaviors of students with different psychological trait factors; (2) to compare appropriate sexual expression behaviors of students with different social situation factors; and (3) to study bio-social factors, psychological trait factors, and social situation factors affecting appropriate sexual expression behaviors. The research sample consisted of randomly selected 319 female students at girls schools under the Office of UdonThani Educational Service Area 1 in Udon Thani province. The research instruments for data collection were summated rating scale questionnaires with reliability coefficients ranging from .75 to .83. Statistics for data analysis were the one way ANOVA, multiple regression analysis, and Scheffe's method of pairwise comparison. The research findings revealed that (1) regarding the psychological trait factors, students with different levels of self-esteem factors and of attitude toward sexual expression behavior factors did not significantly differ in their appropriate sexual expression behaviors; (2) regarding the social situation factors, students under different patterns of child rearing, and with different patterns of relationship with friends of the same sex did not significantly differ in their appropriate sexual expression behaviors, excepting those with different patterns of relationship with friends of the opposite sex who differed significantly in their appropriate sexual expression behaviors at the .05 level; and (3) the main factor that affected appropriate sexual expression behaviors of students was the attitude toward sexual expression behaviors, with the multiple correlation of 0.144 which was statistically significant at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons