Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัยth_TH
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ น้อยอุทัย, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T06:47:26Z-
dc.date.available2023-12-21T06:47:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10961en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินประสิทธิผลการให้บริการด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อประสิทธิผลการให้บริการ ด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการให้บริการด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงประเมินโดยการสอบถามความคิดเห็นของบุคคลที่เข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้เข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ 2563 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบ ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิผลการให้บริการการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรีในภาพรวมมีประสิทธิผลในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์ประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าประสิทธิผลในด้านปัจจัยนำเข้า ผลผลิตการให้บริการสภาวะแวดล้อมในการให้บริการ และกระบวนการให้บริการมีประสิทธิผลการให้บริการอยู่ในระดับมากทุกด้านตามลำดับ ถือว่าผ่านเกณฑ์ประเมิน (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อประสิทธิผลการให้บริการด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ สถานภาพการทำงาน อาชีพ ภูมิลำเนาช่วงระยะเวลาที่มาใช้บริการและจำนวนครั้งในการรับบริการต่างกันมีความคิดเห็นต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นระดับการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็น ไม่ต่างกัน ปัญหาการให้บริการด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี คือด้านปัจจัยนำเข้ามีงบประมาณจำกัด และด้านกระบวนการคือวิธีดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงานด้านการให้บริการทดสอบที่ยุ่งยาก และซับซ้อน (3) สำหรับแนวทางในการแก้ไขปัญหาจำแนกเป็นรายด้าน คือ 1) ด้านสภาวะแวดล้อม ควรประชาสัมพันธ์ข้อมูลการเดินทางเพิ่มมากขึ้น 2) ด้านปัจจัยนำเข้า ควรปรับปรุงพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ ซึ่งมีอายุการใช้งานนาน ไม่ทันสมัย 3) ด้านกระบวนการ ควรประชาสัมพันธ์วิธีการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงานในทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้รับบริการได้รับทราบก่อนที่จะตัดสินใจเข้ารับบริการ 4) ด้านผลการดำเนินงาน ควรปรับปรุงระยะเวลาในการจัดสอบ เนื่องมาจากมีข้อกำหนดการต่อเวลา ทำให้มีระยะเวลารอคอยไม่สามารถเข้าสอบได้ตามเวลาที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectแรงงานฝีมือ--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectงานบริการ--การประเมินth_TH
dc.subjectแรงงาน--ไทย--สุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินประสิทธิผลการให้บริการด้านทดสอบมาตรฐานฝืมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeAssessing the effectiveness of national skill standards test service of the Suphanburi Institute for Skill Developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study national skill standards test service of Suphanburi Institute for Skill Development in several purposes by (1) assessing the effectiveness of national skill standards test service (2) comparing examiner’s opinion on effectiveness of national skill standards test service that individualy classified , and (3) studying problem and to suggest solution of national skill standards test service. This independent study was evaluation research by asking examiner’s opinion on of national skill standards test service that was held by Suphanburi Institute for Skill Development . Samples were 285 examiners of the test during 2020. Tool employed questionnaire, and analyzed by mean, percentage, arithmetic average, standard deviation , T-test , ANOVA ,and Content Analysis. The results of the study revealed that (1) the overall evaluation of national skill standards test service of Suphanburi Institute for Skill Development was founded in the high level , that passed the criteria. When considering as , input , output , environment , and processing were in the high level and also met the set of criteria (2) to compare the examiners’opinion on the test service , and when individual classified by , gender , position , occupation , residence , and times met the difference statistically significant at .05. On the contrary , when generalize by graduation were not different to comment on the processing of test service , that was complicated and confused . (3) to suggest the solutions as for the following aspects 1) for environment ; they should advertised more about travelling 2) for input ; they should have more brand new equipment 3) for processing ; they should published how to examination to examiners in every steps before making the decision 4) for overall operation ; they should manage about test period firmly because that made the waiter did not have so much time to test.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167022.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons