Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา ภัสสรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธุ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ดลประสิทธิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอับดุลเลาะ อาแด-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T07:00:18Z-
dc.date.available2023-12-21T07:00:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10964-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1 (2) เปรียบเทียบ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามขนาดโรงเรียน และประสบการณ์ในการบริหารโรงเรียน ของผู้บริหาร และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เข็ต 1 จำนวน 86 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน มีค่าความเที่ยง .99 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ วิเคราะห์ความแปรปรวน และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ทดสอบสมมุติฐานที่ ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1 ในภาพรวม และทุกมาตรฐานอยู่ในระดับมาก (2) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ แตกต่างกันเมื่อจำแนกตามประสบการณ์ในการบริหาร โดยผู้บริหารที่มีประสบการณ์ น้อยกว่า 10 ปี มีคะแนนสูงกว่าผู้มีประสบการณ์ 10-19 ปี และ (3) ปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ได้แก่ ผู้ปกครองและชุมชนยังไม่ตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการบริหาร โรงเรียน ทำให้ผู้ปกครองและชุมชนไม่ค่อยมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ส่วน ข้อเสนอแนะ ได้แก่การสร้างความตระหนักและจิตสำนึกร่วมกันเพื่อกระตุ้นให้ทุกคนมีความรู้สึก เป็นเจ้าของ ต้องการมีส่วนร่วมมากขึ้น ส่งเสริมสนับสนุน ให้การอบรมเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของตนอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.417-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1th_TH
dc.title.alternativeSchool-based management of elementary schools in Yala Educational Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.417-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study practice level of school-based management of elementary schools in Yala Educational Service Area 1; (2) compare practice levels of school-based management as classified by school size and administrative experience of the school administrator; and (3) study the problems and suggestions for school-based management practice. The sample consisted of 86 elementary schools in Yala Educational Service Area 1. The research instrument was a questionnaire on school-based management, developed by the researcher, with reliability coefficient of .986. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, analysis of variance, and Scheffe multiple comparison method. Significance level of hypothesis testing was predetermined at the .05 level. Research findings revealed that (1) the overall management practice and that for each standard of school-based management of elementary schools in Yala Educational Service Area 1 were at the high level; (2) schools of different sizes did not significantly differ in their overall school-based management practice; but significant difference was found between schools with administrators having different administrative experiences, with schools having administrators with less than 10 years experience receiving higher rating mean than that of schools having administrators with 10- 19 years experience; (3) the problem of school-based management was that parents and the community did not realize the importance of participating in school management, and thus they did not sufficiently participate in school activities; while the suggestions for solving the problem were that the school should make them aware of and realize the importance of participation in order to stimulate the sense of possession and the desire for more participation, and should provide continuous supports and training for school board members to enhance their knowledge and understanding of their roles and dutyen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons