Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิมลพร อินทนุพัฒน์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-28T02:38:49Z-
dc.date.available2023-12-28T02:38:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10985-
dc.description.abstractการศึกษากันคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ (1) แนวคิด ทฤยฎีเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะกรณีความเท่าเทียมระหว่างเพศ (2) ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาคำร้องและการระงับข้อพิพาททางเลือกตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียม พ.ศ. 2558 และกฎหมายต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหาการใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาคำร้องและการระงับข้อพิพาททางเลือกตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียม พ.ศ. 2558 และกฎหมายต่างประเทศ และ (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปรับปรุงกระบวนการพิจารณาคำร้อง และการระงับข้อพิพาททางเลือกตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากตัวบทกฎหมาย ตำราทางวิชาการ บทความ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ คู่มือปฏิบัติงานและศึกษาค้นคว้าวิจัยข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งหลายมาทำการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบของประเทศไทยกับต่างประเทศ พร้อมเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ผลการศึกษาพบว่า (1) มนุษย์ทุกคนต้องถูกรับรองและคุ้มครองภายใต้กฎหมายอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศตามหลักความสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติอันเป็นหลักพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน (2) ซึ่งประเทศไทยได้นำเอาหลักการดังกล่าวมาใช้ เพื่อคุ้มครองหรือชดเชยเยียวยาผู้ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ โดยตราเป็นพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ขึ้น ซึ่งกำหนดให้คณะกรรมการวินิจฉัขการเลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ (คณะกรรมการ วลพ.) ทำหน้าที่พิจารณาและวินิจฉัยคำร้องการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ วลพ. ดำเนินกระบวนพิจารณาและเสนอความเห็นในการวินิจฉัยคำร้องให้คณะกรรมการ วลพ. ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้อง และหากพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในเวลาดังกล่าวได้ ให้ขยายได้อีก 2 ครั้ง ๆ ละ 30 วัน โดยให้บันทึกเหตุผลความจำเป็นไว้ (3) จากการวิเคราะห์ปัญหาพบว่า กระบวนการพิจารณา คำร้องตามกฎหมายดังกล่าวก่อนข้างมีขั้นตอนและระยะเวลาอยู่พอสมควร นอกจากนี้ที่ผ่านมาปรากฏว่า คำร้องส่วนใหญ่ใช้เวลาพิจารณาวินิจฉัยเกินกว่า 1 ปี ซึ่งผู้ร้องบางกรณีอาจเห็นว่า ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดนั้น มีระยะเวลานาน และมีความประสงค์ที่จะใช้วิธีการระงับข้อพิพาททางเลือกเพื่อเป็นทางเลือกในการยุติข้อพิพาทของตน โดยเร็ว และ (1) ผู้ศึกษาจึงขอเสนอแนะให้มีการนำการระงับข้อพิพาททางเลือกมาใช้ในกระบวนการพิจารณาคำร้องของคณะกรรมการ วลพ. ตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียม พ.ศ. 2558 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการระงับข้อพิพาท (กฎหมาย)--ไทยth_TH
dc.subjectการไกล่เกลี่ยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleกระบวนการพิจารณาคำร้องและการระงับข้อพิพาททางเลือกเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ ตามพระราชบัญญติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558th_TH
dc.title.alternativeProcedures for review of complaints and the alternative dispute resolution of gender unfair discrimination under the Gender Equality Act 2015en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study are (1) to study theory and principle of equality and non-discrimination in gender equality, (2) to make a comparative study of laws relating to complaint reviewing process and the alternative dispute resolution under the Gender Equality Act B.E. 2558 (2015) and those of foreign countries, (3) to analyze problem on applying laws relating to complaint reviewing process and the alternative dispute resolution under Gender Equality Act B.E. 2558 (2015), and (4) to propose suggestion for improvements to the complaint reviewing process and the alternative dispute resolution under the Gender Equality Act B.E. 2558 (2015). This independent study has used the qualitative research by researching from law materials, academic textbooks, articles, dissertations, procedures and related information from a variant of websites in order to conduct the comparative data analysis of Thai law and those of foreign law. The research result revealed that: (1) Each independent being must be guaranteed equal treatments and protection by the law with no unfair gender discrimination and non-discrimination which is the general principle of equality and a fundamental element of human rights. (2) Thailand has applied the above-stated principle to protect or compensate people who are discriminated unfairly by their gender by enacting the Gender Equality Act B.E. 2558 (2015). National Human Rights Commission of Thailand (NHRCT) is responsible for reviewing and investigating the complaints on unfair gender discrimination and has authorities to appoint the sub-committee of NHRCT to review and offer opinions of investigating complaints to NHRCT within 90 days from the date of receiving the complaint. If the review has not completed within 90 days, it can be extended twice for 30 days each by recording the reasons of necessity. (3) From the analysis of the problem, it was found that there were numerous steps and was quite time consuming on the complaint reviewing process. In addition, most complaints took more than one year to review in the past, which the complainants may think that the period of time specified by the law is quite a long time. They may intend to use the alternative dispute resolution as an alternative method to quickly settle of their disputes; and (4) the author would like to suggest to utilise the alternative dispute resolution for the complaint reviewing process of National Human Rights Commission of Thailand (NHRCT) under the Equality Act B.E. 2558 (2015) to increase the efficiency of law enforcementen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167832.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons