Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสำราญ ประดิษฐสุวรรณ, 2486--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:38:30Z-
dc.date.available2022-08-27T02:38:30Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1100-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเกี่ยวกับความสามารถพร้อมให้บริการรักษาพยาบาล ปัจจัยสิ่งสนับสนุนบริการ ปัจจัยความต้องการใช้บริการของผู้รับบริการ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยในจังหวัดขอนแก่นเกี่ยวกับการให้บริการนอกเวลาราชการและวันหยุดราชการทําการศึกษาเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยจํานวน 247 คน จากสถานีอนามัย 247 แห่งในจังหวัดขอนแก่น ส่งแบบสอบถามถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .80 ทางไปรษณีย์ ให้เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยให้ข้อมูล และได้รับแบบสอบถามกลับคืนคิดเป็นอัตราการตอบกลับเท่ากับร้อยละ 100 ผลการวิจัยพบว่า เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรสคู่ มีบทบาทและหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน มีประสบการณ์การทํางานนานน้อยกว่า 9 ปี และระหว่าง 10-19 ปี เคยได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถพร้อมให้บริการรักษาพยาบาลของตนในระดับค่อนไปทางมาก มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยสิ่งสนับสนุนบริการในระดับค่อนไปทางมาก มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยความต้องการใช้บริการของผู้รับบริการในระดับปานกลาง มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการในระดับค่อนไปทางปานกลาง มีความพึงพอใจในการให้บริการนอกเวลาราชการและวันหยุดราชการในระดับปานกลาง พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเกี่ยวกับปัจจัยสิ่งสนับสนุนบริการกับความพึงพอใจในสิ่งสนับสนุนบริการ และการสนับสนุนของผู้บังคับบัญชา ระหว่างความคิดเห็นของเจ้าหน้าทีสถานีอนามัยเกี่ยวกับปัจจัยความต้องการใช้บริการของผู้รับบริการกับความพึงพอใจในการใช้บริการของผู้รับบริการและความพึงพอใจในความสามารถพร้อมให้บริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.252-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.titleความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการรักษาพยาบาลนอกเวลาราชการและวันหยุดราชการของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeOpinions of public health personnel about provision of health care overtime and on holiday at health centers in Khon Kaen provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.252-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research was to study the opinions of public health personnel in Khonkaen Province about their prompt capability for provision of health care, factor of service-contributing items, factor of user's service demand, related operational problems and constraints, and their satisfaction with health care provision overtime and on holidays. A total of 247 public health personnel from all health centers were included as subjects. A constructed questionnaire with a verified reliability of .80 was mailed to them and the response rate was 100%. Frequency, percentage, mean, SD, Chi-square value, and correlation coefficient were the statistics of data analysis. The results were most of the public health personnel (1) graduated bachelor degree, were married, had role and position with a community health worker, had work experience of less than 9 years and between 10 to 19 years, and had gained health care training course; (2) thought they had prompt capability for provision of health care at approach-to-much level; (3) rated factor of service-contributing items as approach-to-much level; (4) rated factor of user's service demand as moderate level; (5) rated related operational problems and constraints of health care provision as approach-to-moderate level; and (6) were satisfied with provision of health care overtime and on holidays at moderate level. There were statistically significant relationships between (1) the opinions of public health personnel about factor of service-contributing items and their satisfaction with such things; (2) the opinions of public health personnel about factor of service-contributing items and support of the administrators; (3) the opinions of public health personnel about factor of user's service demand and their satisfaction with user's existing service consumption as well as their prompt capability for provision of health care overtime and on holidaysen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84172.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons