Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรผ่อง มยูขโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสัตตบุษย์ ปัทมชัยพิวัทน์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T04:11:30Z-
dc.date.available2024-01-04T04:11:30Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11014-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนสาระวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง อินเทอร์เน็ต ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์กับการเรียนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ในการเรียนสาระวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง อินเทอร์เน็ต ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์กับการเรียนแบบปกติ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ เรื่อง อินเทอร์เน็ต กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาลคลองท่อมใต้ จังหวัดกระบี่ จำนวน 2 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน 60 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์สูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม นักเรียนที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์สูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 01 และ (3) นักเรียนที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์มีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการคิดวิเคราะห์ในการเรียนสาระวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeThe effects of learning management using concept mapping to develop learning achievement and analytical thinking in Learning the information technology substance of Prathom Suksa VI students in schools under Local Administration Organizations in Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare the learning achievement in the subject of information technology substance in the topic of the Internet of grade 6 students before and after learning by using conceptual mapping and normal learning; (2) compare the analytical thinking ability in the subject of information technology substance in the topic of the Internet of grade 6 students before and after learning by using conceptual mapping and normal learning; and (3) study the satisfactions of grade 6 students towards the learning management using the conceptual mapping in the topic of the Internet. The samples were 60 grade 6 students from two classrooms who were studying in the second semester of the academic year 2020 at Khlong Thom Tai Municipality School at Krabi. The samples were obtained by multi-stage randomization. The instruments of this research were learning management plans in the topic of the Internet with conceptual maps, normal learning management plans, an achievement test, an analytical thinking ability test, and a satisfaction questionnaire. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The research finding were as follow: (1) the pre-learning achievement of the two groups were not different and the post-learning achievement of those learning by using conceptual mapping was significantly higher than that of students learning by using normal learning management plan at the .01 level of statistical significance. (2) The pre- learning analytical thinking ability of the two groups were not different and the post-learning analytical thinking ability of the students learning by using conceptual mapping was significantly higher than that of students learning by using normal learning management plan at the .01 level of statistical significance.; and (3) The students who studied by using conceptual mapping had a high level of overall learning satisfactions.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168389.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons