กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11015
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัญญาวีร์ พิมพิสนธิ์, 2538--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T06:12:48Z-
dc.date.available2024-01-04T06:12:48Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11015-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์และ (2) เปรียบเทียบกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์กับนักเรียนที่ทำกิจกรรมแนะแนวแบบปกติกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 14 คน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ปีการศึกษา 2564 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงแล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1)ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์ตามแนวทฤษฎีการปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม (2) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติและ(3) แบบวัดกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ มัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซันและการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์นักเรียนกลุ่มทดลองมีกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์ มีกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนสูงกว่าของนักเรียนที่ทำกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการแนะแนวการศึกษาth_TH
dc.subjectครูแนะแนว--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบออนไลน์ตามแนวทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเพื่อพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using Online guidance activities package based on rational emotive behavior theory to develop learning Aspect of growth mindset in grade 7-9 students, Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of growth mindset of learning of students before and after using an online guidance activities package; and (2) to compare the growth mindset of learning level of the students who used the online guidance activities package with the counterpart level of the students who undertook normal guidance activities. The research sample consisted of 14 lower secondary students who had low learning achievement during the academic year 2021 at a school in Phra Nakhon Si Ayutthaya province, obtained by purposive selection. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which containing 7 students. The employed research tools were (1) an online guidance activities package based on the Rational Emotive Behavior Theory, (2) a set of normal guidance activities, and (3) a scale to assess growth mindset of learning, with reliability coefficient of .93. Statistics employed for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Ranks Test, and Mann-Whitney U test. The research findings showed that (1) after the experiment with using the online guidance activities package, the experimental group students’ growth mindset of learning level was significantly higher than their growth mindset of learning level before using the online guidance activities package at the .05 level of statistical significance; and (2) the growth mindset of learning level the experimental group students who used the online guidance activities package was significantly higher than the counterpart level of the control group students who undertook normal guidance activities at the .05 level of statistical significance.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
168390.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons