Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยาth_TH
dc.contributor.authorจันทมาศ บัวจันทร์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T06:38:57Z-
dc.date.available2024-01-04T06:38:57Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11017en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ โลกให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์โลก ที่เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับกลุ่มที่ไม่ได้เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (3) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยมโนมติทางภูมิศาสตร์หลังเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์โลกที่เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับกลุ่มที่ไม่ได้เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจำนวนเท่า ๆ กันรวม 68 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัดมโนมติทางภูมิศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผลการวิจัย (1) สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์โลก มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีคะแนนเฉลี่ยมโนมติทางภูมิศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เรียนด้วยสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภูมิศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.titleผลของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์โลก ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมโนมติทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using computer assisted Instruction in the topic of world geography on learning achievement and geographical concepts of Matthayom Suksa V Students at Triamudom Suksa Pattanakarn Ratchada School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop the computer assisted instruction in the topic of World Geography to reach efficiency according to criteria (2) compare post learning achievement between two groups: with and without computer assisted instruction in the topic of World Geography (3) compare the scores of Geographical concepts between two groups: with and without computer assisted instruction in the topic of World Geography. The samples were two groups of students from Matthayom Suksa V Students at Triamudom Suksa Pattanakarn Ratchada School obtained by cluster sampling. They were 68 students equally divided into two groups. Research tools were lesson plans, learning achievement tests and Geographical Concepts test. Statistics for data analysis were means, standard deviation, t-test and efficiency index. The results of the research showed that (1) the efficiency of the computer assisted instruction in the topic of World Geography met the criteria; (2) the students who studied with computer assisted instruction had the higher post learning achievement than the ones who did not study with computer assisted instruction with a level of statistical significance at .05 ; and (3) the students who studied with computer assisted instruction had the higher post scores of Geographical concepts test than the ones who did not study with computer assisted instruction with a level of statistical significance at .05.en_US
dc.contributor.coadvisorสารีพันธุ์ ศุภวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168396.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons