Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11019
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรุณี หรดาลth_TH
dc.contributor.authorเกษร ปะลาวัน, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T08:40:28Z-
dc.date.available2024-01-04T08:40:28Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11019en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนรู้สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสตูล ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสตูล ก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของครูผู้ดูแลเด็กที่มีต่อชุดการเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสตูล กลุ่มตัวอย่าง คือครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสตูล จำนวน 34 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยชุดการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสตูล แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจครูผู้ดูแลเด็ก เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินความพึงพอใจของครูผู้ดูแลเด็กที่มีต่อชุดการเรียนรู้ เรื่องการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) ชุดการเรียนรู้สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสตูล มีประสิทธิภาพ 83.17/82.78 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 85/85 (2) ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยสูงกว่าก่อนใช้ชุดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ(3) ครูผู้ดูแลเด็กมีความพึงพอใจต่อชุดการเรียนรู้ เรื่อง พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectครูปฐมวัยth_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนรู้สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeThe development of a learning package for caregivers on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) develop a learning package for caregivers on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Province based on the set efficiency criterion; (2) compare knowledge and understanding of caregivers concerning the developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Province before and after undertaking a learning package; (3) study caregivers’ satisfaction towards a learning package on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Province The sample consisted of 34 caregivers at child development centers under the Local Government Organizations in Satun province, obtained by multistage sampling. The employed research instruments were a learning package on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Province, a test on knowledge and understanding of caregivers concerning the developing emotional quotient of preschool children, and an evaluation form on caregivers’ satisfaction with a learning package on developing emotional quotient of preschool children. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test Research results were as follows: (1) the developed learning package for caregivers on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun was efficient at 83.17/82.78, meeting the set efficiency criterion of 85/85, (2) the post-experiment knowledge and understanding concerning the developing preschool children’s emotional quotient of caregivers who undertook a learning package was significantly higher than their pre-experiment counterpart at the .01 level, and (3) the caregivers were satisfied with the learning package on developing emotional quotient of preschool children at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorทัศนีย์ ชาติไทยth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168399.pdfเอกสารฉบับเต็ม32.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons