Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
dc.contributor.author | มณีรัตน์ อินทองคำ, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-08T06:43:21Z | - |
dc.date.available | 2024-01-08T06:43:21Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11034 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง และ 2)เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองและกลุ่มควบคุมที่ได้ทำกิจกรรมแนะแนวแบบปกติกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนบางมดวิทยา "สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์" จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการวัดการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียน จำนวน 10 ห้องเรียน แล้วเปรียบเทียบจับคู่ห้องเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยการตระหนักรู้ในตนเองต่ำสุด จำนวน 2 ห้องเรียน จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเพื่อเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเอง 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 12 กิจกรรมและ 3) กิจกรรมแนะแนวปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง ภายหลังการทดลองมีการตระหนักรู้ในตนเองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองมีการตระหนักรู้ในตนเองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้ทำกิจกรรมแนะแนวแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความครุ่นคิดเกี่ยวกับตนเอง | th_TH |
dc.subject | การรับรู้ตนเอง | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop self-awareness of Mathayom Suksa II students of Bang Mot Wittaya “Sisuk Wart Chuan uppatham” School | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare the levels of self-awareness of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop self-awareness; and (2) to compare the self-awareness level of the experimental group students who used the guidance activities package to develop self-awareness with the counterpart level of the control group students who undertook normal guidance activities. The research sample consisted of Mathayom Suksa II students in two classrooms of Bang Mod Wittaya “Sisuk Wart Chuan Uppatham” School during the 2020 academic year. The procedure for obtaining the two classrooms was as follows: Firstly, students in all 10 Mathayom Suksa II classrooms of the school were tested with a scale to assess their self-awareness. Then, two classrooms in which their students had the lowest mean scores on self-awareness were selected and matched. One classroom was randomly assigned as the experimental group; the other classroom, the control group. The employed research instruments were (1) a scale to assess self-awareness, (2) a guidance activities package to develop self-awareness of Mathayom Suksa II students, consisting of 12 activities, and (3) a set of normal guidance activities. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) after the experiment, the experimental group students who used the guidance activities package to develop self-awareness had their post-experiment self-awareness level significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the experimental group students who used the guidance activities package to develop self-awareness had their post-experiment self-awareness level significantly higher than the post-experiment counterpart level of the control group students who undertook normal guidance activities at the .01 level of statistical significance | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168401.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License