Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11036
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล | th_TH |
dc.contributor.author | พรสวรรค์ วุฒิวงศ์, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-08T06:55:48Z | - |
dc.date.available | 2024-01-08T06:55:48Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11036 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาและความต้องการในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี และ 2) พัฒนาแนวทางในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี การดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาปัญหาและความต้องการในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยในจังหวัดปทุมธานี ซึ่งมีอายุระหว่าง 50-60 ปี จำนวน 399คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามปัญหาและความต้องการในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระยะที่ 2 พัฒนาแนวทาง ในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาตลอดชีวิต และด้านการทำงานกับผู้สูงอายุจำนวน 9 คน วิธีดำเนินการวิจัย ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาและความต้องการในการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี ในภาพรวมมีปัญหาระดับปานกลาง โดยปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ปัญหาสุขภาวะด้านจิตใจ รองลงมา ได้แก่ ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย และปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดได้แก่ปัญหาด้านร่างกาย ส่วนความต้องการด้านสุขภาวะ พบว่าในภาพรวม มีความต้องการระดับมาก โดยความต้องการด้านสุขภาวะที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความต้องการด้านร่างกาย รองลงมา ได้แก่ ความต้องการด้านจิตใจ และความต้องการที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ได้แก่ ความต้องการด้านสติปัญญา และ 2) แนวทางการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมาย การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและหลากหลาย การให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรม การบริหารจัดการที่ดี การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย คุณสมบัติของผู้จัดและทีมงานที่มีประสบการณ์ การจัดทำแผนงานประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุและชุมชนได้ทราบอย่างทั่วถึง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สุขภาวะ--ปัจจัยเกี่ยวกับอายุ | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--การดูแล--ไทย--ปทุมธานี | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิต--แง่สุขภาพ | th_TH |
dc.title | แนวทางการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาวะเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชน ในจังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for hygienic readiness preparation for entering elderly age of people in Pathum Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the problems and needs of Hygienic Readiness Preparation for Entering Elderly Age of People in Pathum Thani Province. 2) to develop guidelines of Hygienic Readiness Preparation for Entering Elderly Age of People in Pathum Thani Province. The research was divided into 2 phases. Phase 1 studied the problems and needs of Hygienic Readiness Preparation for Entering Elderly Age of People in Pathum Thani Province. The sample consisted of 399 people aged between 50-60 years living in Pathum Thani Province, obtained by multistage randomization. The research tools were questionnaires of hygienic readiness preparation for entering elderly age. Statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation. Phase 2 was to develop guidelines of hygienic readiness preparation for entering elderly age of people in Pathum Thani Province. The informant were 9 experts in lifelong education and professionals working with the elderly. The research method employed was group discussion and the data obtained was analyzed by content analysis. Results of the study were as follows: 1) The overall problems of hygienic readiness preparation for entering elderly age of people in Pathum Thani Province were at a moderate level. The problem which had highest mean score was mental health problem and next was residence problem. The problem which had lowest mean score was physical health problem. The overall needs of hygienic readiness preparation for entering elderly age of people were at a high level. The need which had highest mean score was the physical health and next was the mental health. The need which had lowest mean score was the intelligence. 2) Guidelines for hygienic readiness preparation for entering elderly age of people in Pathum Thani Province included: goal setting, providing continuing and variety of activities, participation of the elderly in activities, good management, participation of network, qualifications of experienced organizers and teams and developing public relations plan to reach entire group of the elderly and people in community | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สารีพันธุ์ ศุภวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168403.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License