Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพรัตน์ อักษรพรหม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัศนีย์ ชาติไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาลินี เก่งงาน, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:57:39Z-
dc.date.available2022-08-27T02:57:39Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1106-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัว นักเรียนอาชีวศึกษา (2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนอาชีวศึกษา (3) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ นักเรียนอาชีวศึกษาและ (4) เพื่อศึกษาอิทธิพลของค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวต่อ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่มีภูมิลําเนาอยู่ใน จังหวัดปทุมธานีปีการศึกษา 2546 จํานวน 371คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน อาชีวศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวในด้านลักษณะการ บริโภคอาหารของครอบครัวโดยภาพรวม มีความเหมาะสมในระดับมาก ประเภทอาหารที่ครอบครัว นิยมบริโภคโดยภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก และความเชื่อในการบริโภคอาหารของ ครอบครัวโดยภาพรวม มีความเหมาะสมในระดับมาก (2) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของ นักเรียนอาชีวศึกษาโดยภาพรวม มีความเหมาะสมในระดับมาก (3) ค่านิยมการบริโภคอาหารของ ครอบครัวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 (4) ค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน อาชีวศึกษาในจังหวัดปทุมธานีคิดเป็นร้อยละ18.9 ได้แก่ประเภทของอาหารที่ครอบครัวนิยมบริโภค ลักษณะการบริโภคอาหารของครอบครัวและความเชื่อในการบริโภคอาหารของครอบครัวที่สามารถ ทํานายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.274-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleค่านิยมการบริโภคอาหารของครอบครัวที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนอาชีวศึกษาในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeFamily food consumption value influence to food consumption behavior of vocational education student in Patumtani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.274-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the food consumption value of the families of vocational students; (2) to study the food consumption behavior of vocational students; (3) to study relationships between the food consumption value of the families and the food consumption behavior of vocational students; and (4) to study the influence of the food consumption value of the families on the food consumption behavior of vocational students. Samples were 371 vocational students of the diploma program, living in the Patumtani Province, in the academic year of 2003. Research instrument was a questionnaire about the food consumption value of the families of vocational students and the food consumption behavior of vocational students. Statistics used to analyze the data were frequency, percentile, mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment correlation and multiple linear regression. Research findings indicated that (1) the food consumption value of the families as (a) the way families consuming their food overall was highly appropriated, (b) the type of food families enjoying to consume overall was highly appropriated, and (c) the belief in the food consumption overall was highly appropriated; (2) the food consumption behavior of vocational students overall was highly appropriated; (3) the food consumption value of the families was related to the food consumption behavior of vocational students significantly at the 0.01 level; (4) the food consumption value of the families could forecast the variation of the food consumption behavior of vocational students by 18.9% which were the types of food consumption of the families, the way families consuming their food and the belief in food, consumption of the familiesen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83310.pdfเอกสารฉบับเต็ม917.71 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons