Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัสมะ เจะดาฮิง, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-12T02:31:51Z-
dc.date.available2024-01-12T02:31:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11075-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติ (3) เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกและความก้าวหน้าทางทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติ และ (4) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนขั้นบูรณาการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีความก้าวหน้าทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกและความก้าวหน้าทางทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) นักเรียนที่เรียนจากบทปฏิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ระนอง.th_TH
dc.titleผลการใช้บทปฎิบัติการด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกที่มีผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeThe effects of laboratory instructions using the constructivist learning approach in the topic of Structure and Function of Flower Plants on science learning achievement and integrated science process skills of Mathayom Suksa V students at Phichairattanakhan School in Ranong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science learning achievement in the topic of Structure and Function of Flower Plants of Mathayom Suksa V students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach with that of the students who learned from the traditional teaching method; (2) to compare integrated science process skills of Mathayom Suksa V students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach with those of the students who learned from the traditional teaching method; (3) to compare the learning progress of learning achievement in the topic of Structure and Function of Flower Plants and the learning progress of science process skills of Mathayom Suksa V students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach with those of the students who learned from the traditional teaching method; and (4) to compare the pre-learning and post-learning integrated science process skills of Mathayom Suksa V students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach. The research sample consisted of Mathayom Suksa V students in 2 intact classrooms, each of which containing 41 students, of Phichai Rattanakhan School in Ranong Province during the first semester of academic year 2018, obtained by cluster random sampling. Then they were randomly assigned as the experimental group to learn from laboratory instructions using the constructivist learning approach, and the control group to learn from the traditional teaching method. The employed research instruments were (1) laboratory instructions using the constructivist learning approach, (2) a science learning achievement test in the topic of Structure and Function of Flower Plants, and (3) an integrated science process skills test. Statistics used to analyze the data were the mean, standard deviation, and t-test. The findings were as follows: (1) science learning achievement in the topic of Structure and Function of Flower Plants of the students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach was significantly higher than that of the students who learned from the traditional teaching method at the .05 significance level; (2) integrated science process skills of the students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach were significantly higher than those of the students who learned from the traditional teaching method at the .05 significance level; (3) the learning progress of learning achievement in the topic of Structure and Function of Flower Plants and the learning progress of science process skills of students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach were significantly higher than those of the students who learned from the traditional teaching method at the .05 significance level; and (4) the post-learning integrated science process skills of students who learned from laboratory instructions using the constructivist learning approach were significantly higher than their pre-learning counterpart skills at the .05 significance levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons