Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11083
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวภา ติอัชสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | นิภาวรรณ รัชโทมาศ, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-12T03:35:36Z | - |
dc.date.available | 2024-01-12T03:35:36Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11083 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้แก่ด้านลักษณะส่วนบุคคล ด้านความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ด้านสนับสนุนการปฏิบัติงานและด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (2) ระดับการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สาธารณสุข (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระดับการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ผลการวิจัยพบว่า (1) ด้านลักษณะส่วนบุคคล พบว่า อสม.มีอายุเฉลี่ย49.78 ปี จบชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 55.5) และระยะเวลาการเป็ นอสม. เฉลี่ย14.41 ปี ด้านความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค พบว่า อสม. มีความรู้โดยรวมในระดับปานกลาง ด้านสนับสนุนการปฏิบัติงานพบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ ด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน พบว่าปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้าจุนโดยรวมตางมีค่ำเฉลี่ยโดยรวมในระดับปานกลาง (2) อสม. ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง (3) การปฏิบัติงานคุ้มครอง ผู้บริโภคของ อสม. มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตกับปัจจัยด้านการสนับสนุนการ ปฏิบัติงาน (r=0.466) ปัจจัยจูงใจ (r= 0.491) และปัจจัยค้ำจุน (r=0.479) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ร้อยละ 95 ตัวแปรพยากรณ์การปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อสม. ได้แก่ ระยะเวลาการเป็น อสม. ปัจจัยสนับสนุนการ ปฏิบัติงาน ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน (R' = 0.335) และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานคุ้มครอง ผู้บริโภคของอสม. คือ ผู้ประกอบการร้านก๋วยเตี๋ยวใช้หม้อก๋วยเตี๋ยวไม่ได้มาตรฐาน ผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชน จำหน่าย ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย ข้อเสนอแนะ คือ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้นำชุมชน ภาคีเครือข่าย เข้ามา มีบทบาทในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสาธารณสุข ในชุมชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | อาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของอำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to village health volunteers’ performance on health customer protection in Phra Phrom District, Nakhon Si Thammarat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License