Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1109
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมทรง อินสว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | อุดมศักดิ์ บุญอร่ามพงษ์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T03:12:44Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T03:12:44Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1109 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้รวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการลดกลิ่นเหม็นจากมูลไก่ (2) ศึกษาประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการลดกลิ่นเหม็นจากมูลไก่ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยใช้ตัวอย่างมูลไก่จากฟาร์มไก่ ซึ่งเป็นฟาร์มที่มีปัญหาเหตุรำคาญ เชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพผลิตจากสูตรอาหาร 2 สูตร สูตรที่ 1 ใช้อัตราส่วนเศษอาหารต่อกากนี้าตาล เท่ากับ 3:1 และสูตรที่ 2 ใช้อัตราส่วนเศษอาหารต่อกากน้ำตาลต่อรำข้าวต่อปลาป่น เท่ากับ 20:7:1:1 แล้วทำการฉีดพ่นจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพโดยใช้ปริมาณ 5 ระดับ จากมากไปน้อย ได้แก่ 1:500 1:1,00 1:2,000 1:4,000 และ 1:8,000 ลงในมูลไก่แห้งและเปียก ทดสอบกลิ่นโดยใช้อาสาสมัครจำนวน 10 คน ในระยะเวลาต่างๆ กัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษา พบว่า (1) ปริมาณของจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพซึ่งใช้ในการฉีดพ่นแตกต่างกัน มีประสิทธิภาพในการลดกลิ่นเหม็นจากมูลไก่ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) (2) ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพจากสูตรที่ 1 ซึ่งฉีดพ่นมูลไก่เปียกมีประสิทธิภาพในการลดกลิ่นเหม็นดีที่สุดคือ ร้อยละ 36.67 สูตรที่ 1 มีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกับสูตรที่ 2 (P> 0.05) จุลินทรีย์ที่มี ประสิทธิภาพมีประสิทธิภาพในการลดกลิ่นเหม็นของมูลไก่เปียกได้ดีกว่ามูลไก่แห้ง (P<0.05) และใช้ระยะเวลาย่อยสลายมูลไก่ได้ดีที่สุดที่ระยะเวลา 8 ชั่วโมง (P<0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.244 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | จุลินทรีย์--การใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.subject | ไก่--มูล--ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.title | การใช้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลไก่ | th_TH |
dc.title.alternative | Use of effective microorganism to reduce stench from chicken stool | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2004.244 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were ; (1) to find amount of effective microorganism (EM) in reducing stench from chicken stool; and (2) to study the efficiency of EM in reducing stench from chicken stool. This was an experimental research. The sample was chicken stool from one chicken farms which caused nuisance problems. EM produced as two formulars including formular 1 with ratio 3:1 of leftovers and molasses and formular 2 with ratio 20:7:1:1 of food waste, molasses, rice bran and fish meal. EM was sprayed with 5 levels from more to less of 1:500, 1:1,000 1:2,000 1:4,000 and 1:8,000 in dry and wet chicken stool. Ten volunteers then tested stench from chicken stool in different time. Statistics used for data analysis was percentage, mean, standard deviation, t-test and ANOVA. The results of this study were ; (1) the efficiency of different EM amount in reducing stench from chicken stool was not different (P> 0.05); and (2) the efficiency of EM from formular 1 which sprayed in wet chicken stool was highest at 36.67 percent. The efficiency of EM from formular 1 was not different from that of formula 2 (P> 0.05). The efficiency of EM amount in reducing stench f rom wet chicken stool was better than that of dry chicken stool (P<0.05) and was highest at 8 hours for decaying chicken stool (P< 0.05) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สนธยา พรึงลำภู | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License