Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิทยา ยิ่งยวด, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-16T07:13:33Z-
dc.date.available2024-01-16T07:13:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทางสังคม เศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ศึกษาสภาพการผลิตอ้อยโรงงานของเกษตรกร 3) ศึกษาและเปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยโรงงานของเกษตรกรแบบใช้รถตัดและใช้คนตัด 4) ศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยโรงงานแบบใช้รถตัดและใช้คนตัด 5) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรในการผลิตและการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยโรงงานแบบใช้รถตัดและใช้คนตัด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรชาวไร่อ้อย ที่เป็นสมาชิกบริษัทไทยเพิ่มพูนอุตสาหกรรม จำกัด ปีการผลิต 2559/2560 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1) เกษตรกรที่ใช้คนตัดจำนวน 173 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 94 ราย โดยใช้สูตรยามาเน่ โดยยอมรับให้มีความคลาดเคลื่อน 0.07 2) เกษตรกรที่ใช้รถตัดจำนวน 131 ราย กำหนดขนาดเท่ากับกลุ่มเกษตรกรที่ใช้คนตัด สุ่มตัวอย่างแบบง่าย การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแบ่งเป็น 2 ชุด ได้แก่ แบบสัมภาษณ์สำหรับเกษตรกรที่ใช้รถตัดอ้อยและใช้คนตัดอ้อย วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและสถิติเปรียบเทียบ (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรที่เก็บเกี่ยวผลผลิตแบบใช้รถตัดส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุเฉลี่ย 50.82 ปี เป็นสมาชิกสมาคมชาวไร่อ้อย มีพื้นที่ปลูกอ้อยเฉลี่ย 117.88 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 1,169.55 ตัน สำหรับเกษตรกรที่เก็บเกี่ยวแบบใช้คนตัดส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุเฉลี่ย 51.96 ปี เป็นสมาชิกสมาคมชาวไร่อ้อย มีพื้นที่ปลูกอ้อยเฉลี่ย 95.44 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 1,001,05 ตัน 2) เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกอ้อยช่วงฤดูฝน ใช้พันธุ์ขอนแก่น 3 และเก็บพันธุ์ไว้ใช้เอง ซื้อปุ๋ยเคมีจากร้านค้าปลูกอ้อยด้วยเครื่องปลูกทั้งหมด 3) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มมีการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวที่แตกต่างกันในทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ ด้านการเก็บเกี่ยวผลผลิต คือ ระยะทางจากไร่ไปถึงโรงงาน ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ประสบการณ์การเก็บเกี่ยวอ้อย และด้านต้นทุนการเก็บเกี่ยว คือ ค่าจ้างตัด ค่ารถบรรทุกอ้อยส่งโรงงาน 4) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มความมีความพึงพอใจในการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยที่แตกต่างกันในทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ ด้านระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ความเสียหายของผลผลิตขณะตัด การจัดการแปลงปลูกหลังการเก็บเกี่ยว ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย และราคา 5) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม มีปัญหาด้านการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวอยู่ในระดับมาก และมีปัญหาด้านต้นทุนการเก็บเกี่ยวในระดับมาก และมากที่สุด เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม เห็นด้วยกับข้อเสนอแนะด้านการให้ความรู้ในการผลิตอ้อยอยู่ในระดับปานกลาง และมาก ด้านการสนับสนุนปัจจัยการผลิต ในระดับมากและมากที่สุด ด้านการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอยู่ในระดับปานกลาง และมาก และด้านการสนับสนุนปัจจัยการเก็บเกี่ยวในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectอ้อย--การเก็บเกี่ยว--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอ้อย--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีการเกษตร--ไทยth_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยโรงงานแบบใช้รถตัดและใช้คนตัดของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe usage of mechanical and manual sugarcane harvesting technology by farmers in Mueang District, of Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) study the social and economic conditions of farmers 2) study sugarcane production conditions of farmers 3) study and compare the mechanical and manual sugarcane harvesting technology 4) study and compare farmers satisfaction in using mechanical and manual sugarcane harvesting technology 5) study problems and suggestions in production and using mechanical and manual sugarcane harvesting technology. Population and sample group were sugarcane farmers who were members of Thai Multi-Sugar Industry Co., Ltd. in the production year 2016/2017 that were divided into 2 groups : 1) 173 farmers who used manual sugarcane harvesting method and the sample size of 94 farmers was determined by using Yamane formula with the accepted error of 0.07 2) 131 farmers who used mechanical sugarcane harvesting method . The study used the simple random sampling method. Data was collected by 2 structured interviews mechanical and manual sugarcane harvesting method interviews and was analyzed using descriptive statistics and t-test. The results of the research revealed that 1) mechanical harvesting farmers were mostly male with an average age of 50.82 years.They were members of sugarcane planters association with the average sugarcane planting area of 117.88 Rai (1 rai = 1,600 m2) The average productivity of 1,169.55 Ton . For farmers who used manual harvesting method, they were mostly male with the average age of 51.96 years old and were members of sugarcane planters association. The average sugarcane plantation was 95.44 Rai with the average productivity of 1,001.05 Ton 2) Most of the farmers planted sugarcane during rainy season using Khon Kaen 3 species and kept their own seedlings. They would buy chemical fertilizers from the shop and planted all sugarcane with sugarcane planting machine. 3) The 2 groups of farmers used different harvesting technologies which had statistically significant difference at 0.05. For example, in harvesting, the distance from the farm to factory, harvesting duration, experience in sugarcane harvesting, and for the cost of harvesting, they included cutting fee, truck for transportation to the factory fees 4) 2 of the farmer groups had statistically significant difference at 0.05 for satisfaction in using sugarcane harvesting technology such as harvesting duration, the damages caused from harvesting, after harvesting management, convenience, safety ,and price 5) Both of the 2 groups had problems in using harvesting technology at a high level and had the problem about the harvesting cost a high and highest level. The 2 farmer groups agreed with the suggestions in receiving knowledge about sugarcane production at a medium level and high level. In regards to production factor support, they agreed with it at the high and highest level. For harvesting technology they agreed with it at a medium and high level and for the support of harvesting factor, it was at the high levelen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons